Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66404
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปฐมพงษ์ จอมทอง | en_US |
dc.contributor.author | ชยานนท์ หรรษภิญโญ | en_US |
dc.contributor.author | ชินพัฒน์ บัวชาติ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:27Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:27Z | - |
dc.date.issued | 2562 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 26, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 25-32 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9695 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/26_1/03.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66404 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | โบราณสถานมีอายุยาวนานน้้นมักจะอ่อนแอและเสียหายได้ง่ายโดยเฉพาะกับแรงแผ่นดินไหว ซึ่งเมื่อได้รับความเสียหายแล้วการบูรณะให้เหมือนเดิมน้ันเป็นเรื่องที่ทำได้ยาก ดังน้ันจึงควรมีการเตรียมการป้องกันความเสียหายไว้ก่อน บทความนี้นำเสนอผลกระทบของแรงแผ่นดินไหวที่มีต่อองค์พระปรางค์ประธานวัดอรุณราชวราราม โดยวิธีทางพลศาสตร์ โดยโปรแกรมไฟไนต์เอลิเมนต์การศึกษานี้ได้จำลองโครงสร้างพระปรางค์ ประธานวัดอรุณราชวรารามเพื่อรับแรงจากคลื่น แผ่นดินไหวในอดีตจำนวน 9 รูปแบบที่แตกต่างกันสามกลุ่มคือ 1.แผ่นดินไหวเกิดในระยะใกล้ตามทิศทางไปข้างหน้า(near-fault ground motions with forward directivity) 2. แผ่นดินไหวเกิดในระยะใกล้แบบพุ่ง (near-fault ground motions with fling) และ 3. แผ่นดินไหวระยะไกล (far-fault ground motions) ที่ได้รับการปรับค่าให้มี ความรุนแรงตรงกับสเปกตรัมแผ่นดินไหวในพื้นที่ผลการวิเคราะห์พบว่าองค์พระปรางค์มีความถี่ธรรมชาติพื้นฐานจาก เท่ากับ 1.208 s ผลของคลื่นแผ่นดินไหวทำให้เกิดหน่วยแรงอัด สูงสุดที่รอยต่อระหว่างลานประทักษิณกับ ซุ้มทิศเท่ากับ 14.7 MPa และหน่วยแรงดึงสูงสุดที่ลานประทักษิณเท่ากับ 4.13 MPa ซึ่งมากกว่าหน่วยแรงอัดและหน่วยแรงดึงที่ยอมให้ ซึ่งมีค่า 2.68 MPa และ 0.27 MPa ตามลำดับ ดังน้้นควรมีการวางแผนการเสริมกำลังให้กับโครงสร้างขององค์พระปรางค์ วัดอรุณราชวรารามเพื่อให้มีความสามารถในการรับแรงที่มากยิ่งขึ้นเพื่อป้องกันความเสียหายขององค์พระปรางค์จากแรง แผ่นดินไหวที่จะเกิดขึ้นในอนาคต | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การประเมินปรางค์ประธานวัดอรุณราชวรารามในการต้านทานแผ่นดินไหว | en_US |
dc.title.alternative | Assessment of the Main Prang in Temple of Dawn on Seismic Resistance | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.