Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66380
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorการันต์ กันภัยen_US
dc.contributor.authorปารเมศ ชุติมาen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:27Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2561), 34-43en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_2/04.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66380-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractการจัดลำดับการผลิตที่มีหลายวัตถุประสงค์บนสายการประกอบผลิตภัณฑ์ผสมแบบหลายคนงานจัดเป็นปัญหา แบบเอ็นพียาก (non-deterministic polynomial time hard; NP-Hard) ซึ่งวิธีการแก้ปัญหานั้นจำเป็นต้องใช้วิธีการ ทางฮิวริสติก (Heuristic) บทความนี้นา เสนอการหาค่าที่เหมาะสมที่สุดแบบวิธีการบรรจวบแบบขยาย (Combinatorial Optimization with Coincidence Extended: COIN-E) เพื่อใช้สำ หรับแก้ปัญหาดังกล่าวโดยมี3 วัตถุประสงค์ที่จะ ถูกทำให้เหมาะสมที่สุดไปพร้อมกัน ได้แก่ความผันแปรของการผลิตน้อยที่สุด ปริมาณงานที่ทำไม่เสร็จในการผลิตน้อยที่สุด และเวลาของการปรับตั้งเครื่องจักรน้อยที่สุด ผลจากการทดลองแก้ปัญหาที่มีลักษณะต่าง ๆ ที่แตกต่างกันแสดงให้ เห็นว่า COIN-E มีสมรรถนะในการแก้ปัญหาที่สูงกว่าการหาค่าที่เหมาะสมที่สุดแบบเจนเนติกอัลกอริทึม (Nondominated Sorting Genetic Algorithms: NSGA-II) ซึ่งเป็นอีกอัลกอริทึมหนึ่งที่เป็นที่นิยม ทั้งในดัชนีการลู่เข้าสู่ ค่าตอบที่เหมาะสมที่สุดแบบพาเรโต ดัชนีการกระจายตัวของกลุ่มคำตอบ ดัชนีด้านอัตราส่วนของจำนวนกลุ่มคำตอบที่หาได้ เทียบเท่ากลุ่มคำตอบที่แท้จริงและดัชนีเวลาที่ใช้ในการคำนวณหาคำตอบen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดลำดับการผลิตที่มีหลายวัตถุประสงค์บนสายการประกอบผลิตภัณฑ์ผสมแบบหลายคนงานen_US
dc.title.alternativeMulti-Objective Sequencing Problem on Mixed-Model Multi-Manned Assembly Linesen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.