Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66361
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ฐปนัท แก้วปาน | en_US |
dc.contributor.author | ชิตชัย ควรเดชะคุปต์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:26Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:26Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจิตรศิลป์ 9, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 52-92 | en_US |
dc.identifier.issn | 1906-0572 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/89084/117955 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66361 | - |
dc.description | วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นและการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์เครื่องเขินในการออกแบบด้วยเทคนิค Display ในการเปลี่ยนรูปทรงและการตกแต่งผิวสีเครื่องเขินในรูปแบบ 3 แบบ เพื่อใช้เป็นของตกแต่งบ้าน ได้แก่ แบบที่ 1 การปรับเปลี่ยนโครงสร้าง แบบที่ 2 การปรับวิธีการขึ้นรูป และแบบที่ 3 การปรับวิธีการทำสี ประเมินผลผลิตภัณฑ์เครื่องเขินโดยเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ในกลุ่มข้างเคียง ทั้งด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ประโยชน์ในการใช้งาน ความคงทนของวัสดุ ความสะดวกในการรักษา ราคา และความพึงพอใจโดยรวมของผู้บริโภค จากกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และการทดสอบค่า t-test ผลการวิจัยพบว่าสามารถออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้แนวคิด Display ได้ 6 รูปแบบ เมื่อสอบถามความพึงพอใจผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์พบว่า ผู้บริโภคมีความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ รูปแบบที่ผลิต 3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับที่ 1 รูปแบบที่ 4 ร้อยละ 30.1 อันดับที่ 2 รูปแบบที่ 1 ร้อยละ 21.2 และ อันดับที่ 3 รูปแบบที่ 5 ร้อยละ 23.1 ตามลำดับ ผู้วิจัยได้นำรูปแบบที่ 3 รูปแบบที่ 4 และรูปแบบที่ 5 มาเป็นต้นแบบผลิตภัณฑ์ที่มีความเป็นไปได้ในการผลิต โดยรูปแบบที่ 3 มีจุดเด่นเรื่ององค์ประกอบของเส้นจากโครงสร้างที่สามารถติดตั้งให้เกิดรูปแบบอื่นๆ หรือปล่อยให้เกิดรูปทรงจากแรงโน้มถ่วงตามธรรมชาติ รูปแบบที่ 4 มีจุดเด่นด้านรูปแบบที่มีความเรียบง่าย สามารถนำไปตกแต่งสถานที่ได้เกือบทุกรูปแบบของการตกแต่ง รูปแบบที่ 5 มีจุดเด่นในรูปแบบที่มีความสมมาตรและจังหวะขององค์ประกอบรูปทรงที่เกิดจากริ้วและการบิดตัว ส่งผลต่อการให้แสงสว่างโดยรวมได้ดี สำหรับข้อเสนอแนะในการผลิต ทุกรูปแบบมีจุดที่ควรปรับปรุง คือ การรับน้ำหนัก การติดตั้ง และความเหมาะสมในชนิดวัสดุที่นำมาใช้ ควรคำนึงถึงสัดส่วนและความปลอดภัยในการใช้งาน | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | เครื่องเขิน | en_US |
dc.subject | ผลิตภัณฑ์ตกแต่งบ้านประเภทแสงสว่าง | en_US |
dc.subject | Lacuerware | en_US |
dc.subject | household decorative lighting design | en_US |
dc.title | ผลิตภัณฑ์เครื่องเขินตกแต่งบ้านประเภทให้แสงสว่าง | en_US |
dc.title.alternative | Lacquerwares for Household Lighting Decoration. | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.