Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66359
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอรัญ วานิชกรen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:26Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:26Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจิตรศิลป์ 9, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 160-194en_US
dc.identifier.issn1906-0572en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/81538/96301en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66359-
dc.descriptionวารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)en_US
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง ศึกษาและพัฒนาสินค้าตกแต่งห้องทำงานจากอัตลักษณ์ไทยให้ หน่วยงานภาครัฐเพื่อส่งเสริมแนวคิดการประยุกต์ใช้แท่งยาถมดำไร้สารพิษ เป็น การวิจัยในรูปแบบการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Research & Development) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทไทยจากแหล่งท่องเที่ยวรอบเกาะรัตนโกสินทร์ และนำเสนอแนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ระลึกสำหรับการประชาสัมพันธ์ แหล่งท่องเที่ยวที่มีประโยชน์ ใช้สอย สร้างภาพลักษณ์ตกแต่งห้องทำงาน หน่วยงานภาครัฐบาล ส่งเสริมแนวคิดการประยุกต์ใช้แท่งยาถมดำปลอดสารพิษ สิทธิบัตรของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยมีกระบวนการวิจัยจากขั้นตอน การศึกษาบริบทไทยด้านสถาปัตยกรรมด้วยวิธีสังเกตการณ์ด้วยเครื่องมือทาง ทัศนศิลป์ การสเกตซ์ภาพร่วมกับการถ่ายภาพ เพื่อซึมซับคุณค่าเรื่องราวความ สำคัญของบริเวณแหล่งท่องเที่ยวรอบเกาะรัตนโกสินทร์ จากนั้นคัดเลือกสิ่งที่ ประทับใจที่ได้พบเห็นจากแหล่งท่องเที่ยว ต่อยอดและบูรณาการผลิตภัณฑ์ ร่วมกับแนวคิดการประยุกต์ใช้แท่งยาถมดำปลอดสารพิษ ศึกษาบริบทเพิ่มเติม ภาคเอกสารและสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสร้างข้อกำหนด การออกแบบ จากนั้นสังเคราะห์ออกแบบตราสัญลักษณ์และออกแบบ ผลิตภัณฑ์ที่ระลึกจากแหล่งท่องเที่ยวรอบเกาะรัตนโกสินทร์ ผลการวิจัยได้อัตลักษณ์และพหุลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวในเชิงทัศนศิลป์ที่ เป็นรูปธรรม และนามธรรมเรื่องราวคุณค่าเบื้องหลังความสวยงามของแหล่ง ท่องเที่ยวสำคัญบริเวณรอบเกาะรัตนโกสินทร์ ได้ข้อกำหนดแบรนด์รับรอง ผลิตภัณฑ์จากแผนที่เกาะรัตนโกสินทร์ชั้นในและชั้นนอกร่วมกับตัวอักษรด้วย รูปแบบเส้นพู่กันจีน ซึ่งแทนยุครัตนโกสินทร์ตอนต้นที่ได้รับรูปแบบศิลปกรรม ผ่านการค้าขายกับประเทศจีน และแนวคิดผลิตภัณฑ์เพื่อการใช้สอยและตกแต่ง โต๊ะทำงาน โดยบูรณาการร่วมกับแนวคิดการประยุกต์ใช้ยาถมดำไร้สารพิษ ที่เป็นสิทธิบัตรของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้แก่ 1. ที่เสียบปากกาจากแนวคิดแผนที่บริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ 2. โคมไฟจาก แนวคิดพระเจดีย์แห่งวัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) ที่ได้สืบทอด ต้นแบบจากวัดพระศรีสรรเพชรแห่งกรุงศรีอยุธยา และลวดลายประกอบ จากลวดลายกระเบื้องเคลือบวัดอรุณราชวราราม (วัดแจ้ง) 3. กรอบรูปและ ที่วางนามบัตรจากแนวคิดอัตลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยววัดพระเชตุพนวิมล มังคลาราม (วัดโพธิ์) 4. ที่วางกระดาษโน๊ต ที่ทับกระดาษ และสามารถเสียบ ดินสอจากแนวคิดอัตลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวเจดีย์บนภูเขาทองจำลอง วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร และสุดท้ายที่เสียบดินสอเอนกประสงค์จาก แนวคิดอัตลักษณ์อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยซึ่งมีรูปแบบทันสมัยได้รับอิทธิพลจาก ตะวันตก ซึ่งแทนสัญลักษณ์ของประชาชน จากนั้นพัฒนาขั้นสุดท้ายเป็นชุด ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้บนโต๊ะทำงานหน่วยงานภาครัฐ และเป็นของที่ระลึกเพื่อ ส่งเสริมภาพลักษณ์ประเทศไทยen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเกาะรัตนโกสินทร์en_US
dc.subjectการออกแบบผลิตภัณฑ์en_US
dc.subjectการตกแต่งen_US
dc.subjectการท่องเที่ยวen_US
dc.subjectยาถมดำไร้สารพิษen_US
dc.subjectRattanakosin Islanden_US
dc.subjectProduct Designen_US
dc.subjectDecorate, Travelen_US
dc.subjectLead free Niellowareen_US
dc.titleศึกษาและพัฒนาสินค้าตกแต่งห้องทำงานจากอัตลักษณ์ไทยให้หน่วยงานภาครัฐด้วยเทคนิคยาถมดำไร้สารพิษen_US
dc.title.alternativeResearch and development decor items from Thai identify for government office with technology Lead free Niellowareen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.