Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66353
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เอกสุดา สิงห์ลำพอง | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:26Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:26Z | - |
dc.date.issued | 2560 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจิตรศิลป์ 8, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2560), 145-183 | en_US |
dc.identifier.issn | 1906-0572 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/78654/85722 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66353 | - |
dc.description | วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) | en_US |
dc.description.abstract | บทความนี้ตั้งคำถามและตีความกระบวนการการแสดงภาพแทนความจริง (visual representation) ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวด้วยสื่อที่หยิบยืมมาจากวัฒนธรรมตะวันตก คือ จิตรกรรมภาพเหมือน ในการนำเสนอและยืนยันพระราชอำนาจและสถานะความเป็นกษัตริย์ (kingship) ของพระองค์ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงและการท้าทายจากทั้งภายนอกและภายในราชอาณาจักรสยามช่วงครึ่งหลังพุทธศตวรรษที่ 25 โดยบทความเน้นประเด็นการวิเคราะห์ไปที่พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์และพระบรมสาทิสลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจำนวนสามองค์โดยจิตรกรชาวยุโรปประดิษฐาน ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท (ราวพ.ศ. 2474-2482) พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร พระราชวังบางปะอิน (พ.ศ. 2441) และพระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง (พ.ศ. 2451) นอกจากที่พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์และพระบรมสาทิสลักษณ์ทั้งสามองค์จะถ่ายทอดความเหมือนทางกายภาพที่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาแล้ว ยังสะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงในการแสดงสัญลักษณ์แห่งพระราชอำนาจ การนำเสนออัตลักษณ์ของความเป็นกษัตริย์แห่งสยามในบริบทของโลกใหม่ภายใต้การกำหนดทิศทางโดยมหาอำนาจตะวันตก และการสะท้อนรสนิยมวัฒนธรรมการบริโภคตามอย่างตะวันตกของรัชกาลที่ 5 ที่แทรกซึมอยู่ในราชสำนักและแวดวงชนชั้นผู้นำของสยาม | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | portrait | en_US |
dc.subject | King Chulalongkorn | en_US |
dc.subject | symbols | en_US |
dc.subject | modernity | en_US |
dc.subject | taste | en_US |
dc.title | สัญญะแห่งพระราชอำนาจและรสนิยมสมัยใหม่ในพระบรมสาทิสลักษณ์รัชกาลที่ 5 โดยศิลปินยุโรป | en_US |
dc.title.alternative | Regal Symbols and Modern(ised) Taste in the State Portraits of King Chulalongkorn by European Painters | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.