Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66339
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | กมลวรรณ พัชรพรพิพัฒน์ สารสุข | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:26Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:26Z | - |
dc.date.issued | 2560 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิจิตรศิลป์ 8, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2560), 60-105 | en_US |
dc.identifier.issn | 1906-0572 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77823/73353 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66339 | - |
dc.description | วารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.) ค้นหาแนวทางในการสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการออกแบบผลิตภัณฑ์แฟชั่นประเภทกระเป๋าจากเศษผ้าทอไทลื้อเหลือใช้จากกระบวนการตัดจากชุมชนบ้านเฮี้ย อำเภอปัว จังหวัดน่าน 2.) นำเสนอรูปแบบผลงานการออกแบบผลิตภัณฑ์แฟชั่นประเภทกระเป๋าจากเศษผ้าทอไทลื้อเหลือใช้จากกระบวนการตัดให้แก่ชุมชนบ้านเฮี้ย อำเภอปัว จังหวัดน่าน โดยใช้การวิจัยแบบผสมผสาน ได้แก่ การวิจัยเชิงคุณภาพ (Quality Research) ผู้วิจัยทำการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องและสัมภาษณ์เชิงลึก (Depth Interview) แบบตัวต่อตัว (Face - to-Face –Interview) กับผู้นำของชุมชน นักวิชาการและนักออกแบบ และการวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยใช้ทำแบบสอบถาม(Questionnaire) เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 50 คน จากนั้นวิเคราะห์ผลที่ได้เพื่อนำไปสู่ขั้นตอนในการออกแบบ ผลการวิจัยพบว่า 1.) ผู้วิจัยค้นพบองค์ประกอบของการพัฒนาศักยภาพทางการออกแบบผลิตภัณฑ์แฟชั่นประเภทกระเป๋าจากเศษผ้าทอเหลือใช้จากกระบวนการตัด ที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์กระเป๋าที่เหมาะสมกับศักยภาพของชุมชน และสร้างแนวทางจำนวน 3 แนวทางที่เหมาะสมกับศักยภาพเดิมของชุมชน 2.) ผู้วิจัยนำเสนอผลงานการออกแบบผลิตภัณฑ์แฟชั่นประเภทกระเป๋าให้แก่ชุมชนทอผ้าบ้านเฮี้ย อำเภอปัว จังหวัดน่าน โดยผลิตกระเป๋าจำนวน 3 แบบตาม 3 แนวทางที่ค้นพบ เพื่อพัฒนาเป็นต้นแบบกระเป๋าจากเศษผ้าให้แก่ชุมชน ส่งผลให้ชุมชนเกิดประสิทธิภาพในการเรียนรู้และเข้าใจ สามารถพัฒนาศักยภาพในการออกแบบของชุมชนให้อยู่ได้เองอย่างยั่งยืน | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ไทลื้อ | en_US |
dc.subject | เศษผ้า | en_US |
dc.subject | ผ้าฝ้ายทอมือ | en_US |
dc.subject | การออกแบบผลิตภัณฑ์แฟชั่น | en_US |
dc.subject | กระเป๋า | en_US |
dc.subject | Tai-lue | en_US |
dc.subject | remnant fabric | en_US |
dc.subject | hand-woven cotton | en_US |
dc.subject | fashion design product | en_US |
dc.subject | bag | en_US |
dc.title | แนวทางในการพัฒนาศักยภาพทางการออกแบบผลิตภัณฑ์แฟชั่นประเภทกระเป๋าจากเศษผ้า : กรณีศึกษา ผ้าทอไทลื้อบ้านเฮี้ย อำเภอปัว จังหวัดน่าน | en_US |
dc.title.alternative | A Research of proficiency development in fashion design product; bag made from remnant fabric: Case study of Tai-lue hand woven fabric, Baan Hia, Pua District, Naan Province | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.