Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66306
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวนิดา ธรรมธุระสารen_US
dc.contributor.authorศิริพร ดอนเหนือen_US
dc.contributor.authorศิริพร กออินทร์ศักดิ์en_US
dc.contributor.authorจินตนา อันอาตม์งามen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:25Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:25Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationวารสารเกษตร 35, 1 (ม.ค. 2562), 113-123en_US
dc.identifier.issn0857-0841en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00141_C01126.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66306-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (ม.ค. พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractโรคกาบใบเน่าและโรคเมล็ดด่างข้าวถือเป็นโรคหนึ่งที่สำคัญที่เกิดจากเชื้อรา Sarocladium oryzae เป็นสาเหตุทำให้ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตข้าวในประเทศไทยลดลง การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาวิธีการคัดเลือกและประเมินความต้านทานต่อโรคกาบใบเน่าและโรคเมล็ดด่างสาเหตุจากเชื้อรา S. oryzae ในสภาพโรงเรือน และค้นหาแหล่งพันธุกรรมต้านทานโรคนี้ โดยสำรวจและเก็บตัวอย่างโรคกาบใบเน่าและโรคเมล็ดด่างในบางพื้นที่ของภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย นำมาแยกเชื้อราสาเหตุด้วยวิธี tissue transplanting จากกาบใบและเมล็ด จากลักษณะทางสัณฐานวิทยาพบว่า เชื้อรา 20 ไอโซเลทที่แยกได้นั้น จำแนกเป็นเชื้อรา S. oryzae โดยไอโซเลทที่มีความรุนแรงมากที่สุด คือ NPT0136 เป็นไอโซเลทที่นำไปใช้สำหรับการประเมินบนข้าว 15 พันธุ์ ที่มีลักษณะต้านทานปานกลางถึงต้านทานต่อเชื้อรา Bipolaris oryzae, Curvularia lunata และ Fusarium incarnatum ผลการทดสอบพบว่า ข้าวพันธุ์ DH103, 0-39 กำแพงเพชร และ กข6 ต้นเตี้ย มีลักษณะต้านทานปานกลางและต้านทานต่อเชื้อรา S. oryzae หลังจากปลูกเชื้อราที่บริเวณรวงและกาบใบ ดังนั้น ข้าวทั้ง 3 พันธุ์นี้ จึงสามารถใช้เป็นแหล่งความต้านทานต่อโรคกาบใบเน่าและโรคเมล็ดด่างที่เกิดจากเชื้อรา S. oryzae ในโปรแกรมปรับปรุงพันธุ์ได้ต่อไปen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectข้าว (Rice)en_US
dc.subjectโรคกาบใบเน่า (sheath rot disease)en_US
dc.subjectโรคเมล็ดด่าง (dirty panicle disease)en_US
dc.subjectSarocladium oryzaeen_US
dc.titleการประเมินความต้านทานต่อโรคกาบใบเน่าและโรคเมล็ดด่างข้าวที่เกิดจากเชื้อรา Sarocladium oryzaeen_US
dc.title.alternativeEvaluation of Resistance to Sheath Rot and Dirty Panicle Disease of Rice Caused by Sarocladium oryzaeen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.