Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66297
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วีรยา สมณะ | en_US |
dc.contributor.author | เยาวลักษณ์ จันทร์บาง | en_US |
dc.contributor.author | จิราพร กุลสาริน | en_US |
dc.contributor.author | Michael Burgett | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:25Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:25Z | - |
dc.date.issued | 2554 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารเกษตร 27, 3 (ต.ค. 2554), 219-228 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-0841 | en_US |
dc.identifier.uri | http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00114_C00832.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66297 | - |
dc.description | วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (ม.ค. พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาชีวมิติของผึ้งโพรงธรรมชาติจากรังขอนไม้ขุดในภาคเหนือของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2552 โดยใช้ผึ้งโพรงในฤดูแล้ง (พฤศจิกายน-พฤษภาคม) และฤดูฝน (มิถุนายน-ตุลาคม) จำนวน 10 รัง และ 14 รัง ตามลำดับ พบว่าในฤดูแล้งจำนวนตัวเต็มวัยทั้งหมดของผึ้งโพรงเฉลี่ยคือ 13,499 ตัว/รัง, ผึ้งงาน 12,922 ตัว/รัง และผึ้งเพศผู้ 577 ตัว/รัง ส่วนจำนวนไข่ หนอน และดักแด้ของผึ้งโพรงทั้งหมดมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 6,910 ตัว ซึ่งเจริญไปเป็นผึ้งงานเฉลี่ย 5,977 ตัว (ไข่ 628 ฟอง, หนอน 963 ตัว และดักแด้ 4,386 ตัว) และเจริญไปเป็นผึ้งเพศผู้เฉลี่ยเท่ากับ 933 ตัว/รัง (ไข่ 40 ฟอง, หนอน 135 ตัว และดักแด้ 758 ตัว) ส่วนในฤดูฝนมีตัวเต็มวัยผึ้งโพรงทั้งหมดเฉลี่ย 8,654 ตัว/รัง, ผึ้งงาน 8,574 ตัว/รัง และผึ้งเพศผู้ 80 ตัว/รัง โดยมีจำนวนไข่ หนอน และดักแด้ของผึ้งโพรงทั้งหมดเฉลี่ยเท่ากับ 5,103 ตัว และเจริญไปเป็นผึ้งงานเฉลี่ยเท่ากับ 5,039 ตัว/รัง (ไข่ 452 ฟอง, หนอน 1,038 ตัว และดักแด้ 3,549 ตัว) และผึ้งเพศผู้เฉลี่ย 64 ตัว/รัง (ไข่ 5 ฟอง, หนอน 1 ตัว, และดักแด้ 58 ตัว) สำหรับปริมาตรที่ผึ้งโพรงเข้าครอบครองรังในฤดูแล้งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 18.7 ลิตร โดยมีปริมาตรที่ผึ้งครอบครองในรังเท่ากับ 56.8 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ทั้งหมด ส่วนในฤดูฝนมีปริมาตรเฉลี่ยเท่ากับ 12.6 ลิตร ปริมาตรที่ผึ้งครอบครองในรังเท่ากับ 37.5 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งความแตกต่างของผึ้งโพรงระหว่างฤดูแล้งและฤดูฝนอยู่ที่การผลิตผึ้งเพศผู้ทั้งจำนวนไข่ หนอน ดักแด้ และตัวเต็มวัย โดยผลจากการค้นคว้าวิจัยครั้งนี้ทำให้รู้จำนวนประชากร และขนาดโพรงที่ผึ้งโพรงที่อยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ผึ้งโพรง | en_US |
dc.subject | ฤดูกาล | en_US |
dc.subject | พื้นที่รวงผึ้ง | en_US |
dc.subject | ปริมาตรที่ผึ้งครอบครองรัง | en_US |
dc.subject | ปริมาตรโพรงเปล่า | en_US |
dc.title | ชีวมิติของรังผึ้งโพรงธรรมชาติจากการสังเกตในภาคเหนือของประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Biometrics of Natural Nest of Eastern Honey Bee (Apis cerana F.) as Observed in Northern Thailand | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.