Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66251
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุสัณหา สุสัณหาen_US
dc.contributor.authorปานจันทร์ คนสูงen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:24Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:24Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 46, 1 (ม.ค.-มี.ค. 2562), 239-250en_US
dc.identifier.issn0125-0078en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/180861/128359en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66251-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ทั้งในแง่สารอาหารภูมิต้านทานโรคพฤติกรรมเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมนั้นมีหลักฐานเชิงประจักษ์อย่างมากมายที่ไม่อาจปฏิเสธได้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้นำมาใช้เพื่อลดอัตราการตายของทารกแรกเกิดและเด็กเล็ก รวมทั้งป้องกันภาวะเสี่ยงต่อโรคอ้วนในเด็กเล็กนอกจากนี้ยังมี ประโยชน์ต่อแม่อีกด้วยเช่น ลดการตกเลือดในระยะหลังคลอด ลดความเสี่ยงของมะเร็งรังไข่และมะเร็งเต้านมลดภาวะเสี่ยงโรคเรื้อรังเช่นเบาหวานโรคหัวใจและโรคหืดหอบฮอร์โมนที่หลั่งขณะให้นมแม่ทำให้ทารกรู้สึกอบอุ่นและสงบมีผลต่อสายสัมพันธ์ระหว่างแม่และทารกเนื่องจากประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่มีมากมายองค์การอนามัยโลก (World Health Organization [WHO]) และกองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ(The United Nations Children’s Fund [UNICEF])จึงได้แนะนำและสนับสนุนให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพียงอย่างเดียวจนทารกอายุหกเดือนหลังจากนั้นให้นมแม่ร่วมกับอาหารเสริมตามวัยจนถึงอายุสองปีแม้ว่ามีหลักฐานมากมายในการสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในหกเดือนแรกแต่อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ยังต่ำกว่าเป้าหมายทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้วและประเทศที่กำลังพัฒนาโดยเฉพาะในกลุ่มแม่วัยรุ่นการศึกษาหลายรายงานพบว่าแม่วัยรุ่นเริ่มต้นและให้นมแม่อย่างต่อเนื่องแก่ทารกน้อยกว่าแม่วัยผู้ใหญ่จึงมีความจำเป็นในการศึกษาปัญหาและอุปสรรคของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่รวมทั้งสนับสนุนและส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในแม่กลุ่มนี้ดังนั้นบทความนี้จึงนำเสนอประเด็นการตั้งครรภ์และการคลอดในสตรีวัยรุ่นการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในแม่วัยรุ่น ปัญหาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในแม่วัยรุ่นen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectAdolescent Mothersen_US
dc.titleการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในแม่วัยรุ่นen_US
dc.title.alternativeBrerastfeeding Promotion Among Adolescent Mothersen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.