Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66233
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวโรดม เสมอเชื้อen_US
dc.contributor.authorพิกุล นันทชัยพันธ์en_US
dc.contributor.authorสุดารัตน์ สิทธิสมบัติen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:24Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:24Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 46, 1 (ม.ค.-มี.ค. 2562), 52-64en_US
dc.identifier.issn0125-0078en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/180681/128243en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66233-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractปัจจุบัน การตายดีได้รับการพิจารณาว่าเป็นตัวบ่งชี้ผลลัพธ์ของการดูแลแบบประคับประคองในหลายประเทศ การศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายการตายดีตามการผลการวิจัย พบว่า การตายดีตามการรับรู้โดยกลุ่มตัวอย่างที่มีความเห็น จำเป็นอย่างยิ่ง โดยนำมาเรียงลำดับร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจากมากที่สุด 5 ลำดับแรก ได้แก่ 1) การเชื่อใจแพทย์ผู้รักษา 2) การต่อสู้กับโรคจนนาทีสุดท้าย 3) การยอมรับความตายว่าเป็นเรื่องธรรมชาติ 4) การแสดงความศรัทธาต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เคารพนับถือ 5) เข้าสู่วาระสุดท้ายโดยไม่กลัวความตาย และ 5 ลำดับท้าย ได้แก่ 1) ไม่ให้คนในครอบครัวได้รู้ว่าตนมีความอ่อนแอทางร่างกายและจิตใจ 2) มีเวลาเพียงพอกับใครคนสำคัญในครอบครัว 3) ได้พบกับคนที่ต้องการพบ 4) ได้ทราบความคาดหมายต่อสภาพความเจ็บป่วยในระยะต่อไป และ 5) ไม่ได้รับการดูแลเสมือนเป็นวัตถุหรือเป็นเด็ก ผลการวิจัยครั้งนี้พรรณนาการตายดีตามมุมมองของผู้รอดชีวิตจากมะเร็ง ซึ่งเป็นองค์ความรู้ทางการพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคองเกี่ยวกับการตายดีในบริบทสังคมไทยสามารถใช้เป็นแนวทางในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการพยาบาลเพื่อตอบสนองการตายดีen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการตายดีen_US
dc.subjectผู้รอดชีวิตจากมะเร็งen_US
dc.subjectการรับรู้en_US
dc.titleการตายดีตามการรับรู้ของผู้รอดชีวิตจากมะเร็งen_US
dc.title.alternativeGood Death as Perceived by Cancer Survivorsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.