Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66202
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุสัณหา หา ยิ้มแย้มen_US
dc.contributor.authorนันทพร แสนศิริพันธ์en_US
dc.contributor.authorนงลักษณ์ เฉลิมสุขen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:23Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:23Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 45, 3 (ก.ค.-ก.ย. 2561), 83-96en_US
dc.identifier.issn0125-0078en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/149342/109650en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66202-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractการพัฒนากล่องจำลองการตรวจภายในเพื่อใช้ในการเรียนการสอนทางคลินิก มีส่วนสำคัญที่ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจและมีทักษะในการปฏิบัติงานก่อนปฏิบัติกับผู้รับบริการในคลินิก วัตถุประสงค์ของการวิจัยและพัฒนาครั้งนี้ เพื่อพัฒนาและประเมินประสิทธิภาพกล่องจำลองการตรวจภายในเพื่อฝึกประเมินความก้าวหน้าของการคลอด ซึ่งมีการดำเนินงาน 2 ระยะ ดังนี้ 1) การพัฒนากล่องจำลอง และ 2) การนำกล่องจำลอง ไปทดลองใช้และประเมินประสิทธิภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลที่ฝึกปฏิบัติงานในหน่วยห้องคลอด 67 คน ในระยะที่ 1 จำนวน 15 คน และระยะที่ 2 จำนวน 52 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แนวคำถามเกี่ยวกับหุ่นจำลองการตรวจภายในและแบบประเมินคุณภาพหุ่นจำลองการตรวจภายใน ซึ่งได้รับการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา (CVI) เท่ากับ 1.00 และหาค่าความเชื่อมั่นของแบบประเมินคุณภาพหุ่นจำลองเต้านมโดยการทดสอบซ้ำกับนักศึกษาพยาบาลจำนวน 10 คนได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.96 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ค่ามัธยฐาน ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยได้กล่องจำลองการตรวจภายในเพื่อฝึกประเมินความก้าวหน้าของการคลอด ซึ่งมีโครงสร้างทำด้วยไม้ที่จำลองเป็นช่องทางคลอดและแผ่นพลาสติกที่ติดยางพาราซึ่งทำเป็นปากมดลูกและศีรษะทารกที่มีหลายขนาด เมื่อนำกล่องจำลองการตรวจภายในฯ นี้ มาทดลองใช้และประเมินประสิทธิภาพพบว่า กล่องจำลองการตรวจภายในมีประสิทธิภาพในด้านการผลิตและด้านทักษะการเรียนรู้อยู่ในระดับพอใช้ ขณะที่ด้านความมั่นใจอยู่ในระดับดี แม้ว่ากล่องจำลองการตรวจภายในฯ นี้ ใช้อธิบายและฝึกทักษะในการประเมินความก้าวหน้าของการคลอดได้ แต่ยังต้องการการพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นและเหมาะสมทั้งด้านการผลิตและด้านทักษะการเรียนรู้ต่อไปen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectกล่องจำลองการตรวจภายในen_US
dc.subjectการประเมินความก้าวหน้าของการคลอดen_US
dc.subjectนักศึกษาพยาบาลen_US
dc.titleการพัฒนากล่องจำลองการตรวจภายในเพื่อฝึกประเมินความก้าวหน้าของการคลอดen_US
dc.title.alternativeDeveloping a vaginal exam simulation box for labor progression assessment trainingen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.