Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65984
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปราโมทย์ บุญตันen_US
dc.contributor.authorกฤตวิทย์ อัจฉริยะพานิชกุลen_US
dc.contributor.authorกันตพร ช่วงชิดen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T08:45:33Z-
dc.date.available2019-08-21T08:45:33Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 22, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2561), 11-30en_US
dc.identifier.issn0859-8479en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMJE/article/view/118000/106072en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65984-
dc.descriptionวารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การดำเนินงานโดยคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับพิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์โดยใช้รูปแบบการการพิจารณาบทความโดยที่ผู้ทรงคุณวุฒิจะไม่ทราบชื่อผู้เขียน และผู้เขียนจะไม่ทราบชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ (Double Blind Process) มีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่วิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็นสื่อกลางในการรายงานความก้าวหน้าทางวิชาการen_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำของจังหวัดกระบี่ ระนอง กรุงเทพ ระยอง และสระบุรี เพื่อใช้เป็นกรณีศึกษาซึ่งเป็นจังหวัดที่ค่าจ้างขั้นต่ำไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายตามคุณภาพมากที่สุดในปี พ.ศ. 2559 โดยใช้วิธีการประมาณค่าเอนโทรปีสูงสุดสำหรับแบบจำลองเชิงเส้น(Generalized Maximum Entropy Estimators of Linear Model) ซึ่งวิธีนี้มีความยืดหยุ่นกว่าวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด (Ordinary Least Squares) ในการศึกษานี้ประเมินความผิดพลาดของแบบจำลองโดยค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อน (Mean Square Error :MSE) ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าวิธีการประมาณค่าเอนโทรปีสูงสุดมีความแม่นยำมากกว่าวิธีกำลังสองน้อยที่สุด นอกจากนี้ยังพบว่าปัจจัยถูกนำมาพิจารณามากที่สุดคือ ผลิตภาพแรงงานและอัตราการว่างงานในจังหวัด รองลงมาคืออัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในจังหวัดและค่าใช้จ่ายตามคุณภาพen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectค่าจ้างขั้นต่ำen_US
dc.subjectวิธีเอนโทรปีen_US
dc.subjectแบบจำลองเชิงเส้นen_US
dc.subjectวิธีกำลังสองน้อยที่สุดen_US
dc.titleการประยุกต์ใช้วิธีการประมาณค่าเอนโทรปีสูงสุดสำหรับแบบจำลองเชิงเส้น กับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำระดับจังหวัดของประเทศไทย :กรณีตัวอย่างen_US
dc.title.alternativeApplications Generalized Maximum Entropy Estimators to the Factors Influencing to Determinants of Province Minimum Wage in Thailand: A Case Studyen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.