Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65185
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorAnanchanok Saringcarinkulen_US
dc.contributor.authorYodying Punjasawadwongen_US
dc.contributor.authorNatta Kongtonkulen_US
dc.contributor.authorKornkamol Werawongen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:44Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:44Z-
dc.date.issued2015en_US
dc.identifier.issn0125-5983en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/87564/69138en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65185-
dc.descriptionChiang Mai Medical Journal (Formerly Chiang Mai Medical Bulletin) is an official journal of the Faculty of Medicine, Chiang Mai University. It accepts original papers on clinical and experimental research that are pertinent in the biomedical sciences. The Journal is published 4 issues/year (i.e., Mar, Jun, Sep, and Dec).en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ ผู้วิจัยตั้งสมมุติฐานว่า ยา dexmedetomidine จะช่วยลดการเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน โลหิตระหว่างการนําสลบ การใส่หมุดยึดกะโหลกศีรษะ และการลงมีดผ่าตัด ในการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะ ส่วนบน เมื่อเปรียบเทียบกับยา fentanyl วิธีการศึกษา ผู้ป่วย 30 ราย อายุ 18-65 ปี นัดหมายมารับการผ่าตัดสมองได้รับยา dexmedetomidine 1 มคก./กก. หรือยา fentanyl 2 มคก./กก. ทางหลอดเลือดดําก่อนให้ยา propofol ซึ่งเริ่มให้ที่ระดับ 3 มคก./ กก. โดยเครื่องให้ยาที่ควบคุมระดับยาตามเป้าหมายที่ต้องการและปรับระดับการให้ยา เพื่อรักษาภาวะสลบ โดยใช้เครื่องดัชนีชี้วัดภาวะสลบในผู้ป่วยทั้งสองกลุ่ม ค่าตัวแปรของระบบไหลเวียนโลหิตถูกบันทึกอย่างต่อ เนื่องและวิเคราะห์เพื่อหาผลการศึกษา ผลการศึกษา โดยรวมแล้วค่าความดันโลหิต (ซีสโตลิก ไดแอสโตลิกและความดันกลาง) เพิ่มขึ้น หลังจากได้รับ ยา dexmedetomidine 1 มคก./กก. ทางหลอดเลือดดํา ซึ่งมีค่าสูงกว่า ความดันโลหิตในกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับยา fentanyl 2 มคก./กก. ตลอดช่วงการศึกษา ซึ่งค่าความดันโลหิตซีสโตลิก ไดแอสโตลิกและความดันกลางของ กลุ่ม fentanyl ลดลง หลังจากได้รับยา fentanyl 2 มคก./กก. และค่าความดันดังกล่าวลดลงอีกหลังจากนํา สลบด้วย propofol แต่ต่อมาค่าสูงขึ้นตอบสนองต่อการใส่ท่อช่วยหายใจ หลังจากใส่หมุดยึดกะโหลกศีรษะ ค่าความดันไดแอสโตลิกและความดันกลางในผู้ป่วยทั้งสองกลุ่มสูงขึ้น แต่ไม่มีนัยสําคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับ ค่าก่อนใส่หมุดยึดกะโหลกศีรษะในแต่ละกลุ่ม ค่าความดันซีสโตลิก ไดแอสโตลิกและความดันกลางในผู้ป่วยทั้ง สองกลุ่ม ไม่เปลี่ยนแปลงไปมากหลังการลงมีดผ่าตัด เทียบกับค่าก่อนการลงมีดผ่าตัด ปริมาณยา propofol ที่ ใช้ในการนําสลบและที่ใช้ทั้งหมดในกลุ่มยา dexmedetomidine ไม่น้อยกว่าปริมาณยา propofol ที่ใช้ใน กลุ่ม fentanyl ถึงแม้ว่ากลุ่ม dexmedetomidine ต้องการปริมาณยา fentanyl ในระหว่างการผ่าตัดน้อย กว่าเทียบกับกลุ่ม fentanyl แต่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ สรุปผลการศึกษา ยา dexmedetomidine ขนาด 1 มคก./กก. ไม่ได้มีประสิทธิภาพเหนือกว่ายา fentanyl 2 มคก./กก. ในการลดการตอบสนองของระบบไหลเวียนโลหิตต่อการนําสลบด้วยยา propofol การใส่หมุดยึด กะโหลกศีรษะและการลงมีดผ่าตัดen_US
dc.languageEngen_US
dc.publisherFaculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleEffect of dexmedetomidine on hemodynamic responses during the propofol induction period, skull-pin application and skin incision in patients under going craniotomyen_US
dc.title.alternativeผลของยา dexmedetomidine ต่อการตอบสนองของระบบไหลเวียนโลหิตระหว่างการนํา สลบ การใส่หมุดยึดกะโหลกศีรษะและการลงมีดผ่าตัดในผู้ป่วยที่มาผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleเชียงใหม่เวชสารen_US
article.volume54en_US
article.stream.affiliationsDepartment of Anesthesiology, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
article.stream.affiliationsDepartment of Anesthesiology, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
article.stream.affiliationsDepartment of Anesthesiology, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
article.stream.affiliationsDepartment of Anesthesiology, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.