Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65181
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorAuranat Wangdeeen_US
dc.contributor.authorWachirapha Thipdeten_US
dc.contributor.authorSukon Prasitwattanasereeen_US
dc.contributor.authorPhruksachat Singsuwanen_US
dc.contributor.authorPasuk Mahakkanukrauhen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:44Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:44Z-
dc.date.issued2014en_US
dc.identifier.issn0125-5983en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/87558/69133en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65181-
dc.descriptionChiang Mai Medical Journal (Formerly Chiang Mai Medical Bulletin) is an official journal of the Faculty of Medicine, Chiang Mai University. It accepts original papers on clinical and experimental research that are pertinent in the biomedical sciences. The Journal is published 4 issues/year (i.e., Mar, Jun, Sep, and Dec).en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการแยกเพศโดยใช้ลักษณะภายนอกของกระดูกเชิงกรานในกลุ่ม ประชากรไทย วิธีการศึกษา ศึกษาจากโครงกระดูกจํานวน 300 โครง แบ่งเป็นเพศชาย 150 โครง และเพศหญิง 150 โครง ซึ่งมีอายุระหว่าง 15-96 ปี ณ ศูนย์วิจัยนิติวิทยากระดูก คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยสังเกต ลักษณะภายนอกของกระดูกเชิงกรานจํานวน 11 ลักษณะ ได้แก่ greater sciatic notch, subpubic angle, preauricular sulcus, postauricular sulcus, iliac fossa, acetabulum, ischiopubic ramus ridge, composite arch, ventral arc, pubic bone shape และ dorsal pubic pitting และกําหนดเกณฑ์การให้ คะแนนในการแยกเพศของแต่ละลักษณะ ดังนี้ คะแนน 1 หมายถึง เพศชาย, คะแนน 2 หมายถึง น่าจะเป็น เพศชาย, คะแนน 3 หมายถึง ไม่สามารถระบุเพศได้, คะแนน 4 หมายถึง น่าจะเป็นเพศหญิง และคะแนน 5 หมายถึงเพศหญิง จากนั้นนําคะแนนที่ได้ในแต่ละลักษณะมาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยร้อยละความถูกต้องเพื่อใช้ ในการแยกเพศจากกระดูกเชิงกราน ผลการศึกษา พบว่าลักษณะภายนอกของกระดูกเชิงกรานทั้ง 11 ลักษณะ มีค่าเฉลี่ยความถูกต้องในการแยก เพศร้อยละ 72.5-98.7 โดยลักษณะภายนอกของกระดูกเชิงกรานที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในการแยกเพศคือ subpubic angle, greater sciatic notch และ pubic bone shape โดยมีค่าเฉลี่ยความถูกต้องร้อยละ 98.7, 98.6 และ 98.2 ตามลําดับ สรุปผลการศึกษา pubic bone shape, greater sciatic notch และ subpubic angle เป็นลักษณะ ภายนอกของกระดูกเชิงกรานที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยมีความแม่นยํา รวดเร็ว และง่ายในการแยกเพศ ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อวงการนิติวิทยาศาสตร์ในประเทศไทยen_US
dc.languageEngen_US
dc.publisherFaculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleEffi ciency of sex determination by using external morphology of the pelvis in Thai populationen_US
dc.title.alternativeประสิทธิภาพของการแยกเพศโดยใช้ลักษณะภายนอกของกระดูกเชิงกรานในกลุ่มประชากรไทยen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleเชียงใหม่เวชสารen_US
article.volume53en_US
article.stream.affiliationsForensic Science, The Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
article.stream.affiliationsForensic Science, The Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
article.stream.affiliationsDepartment of Statistics, Faculty of Science, Chiang Mai University , Forensic Osteology Research Center, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
article.stream.affiliationsForensic Osteology Research Center, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
article.stream.affiliationsForensic Osteology Research Center, Faculty of Medicine, Chiang Mai University , Department of Anatomy, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.