Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65160
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorThawatchai Damrien_US
dc.contributor.authorOrawan Louthrenooen_US
dc.contributor.authorWattana Chartapisaken_US
dc.contributor.authorSauwalak Opastirakulen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:43Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:43Z-
dc.date.issued2014en_US
dc.identifier.issn0125-5983en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/87541/69122en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65160-
dc.descriptionChiang Mai Medical Journal (Formerly Chiang Mai Medical Bulletin) is an official journal of the Faculty of Medicine, Chiang Mai University. It accepts original papers on clinical and experimental research that are pertinent in the biomedical sciences. The Journal is published 4 issues/year (i.e., Mar, Jun, Sep, and Dec).en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินปัญหาจิตสังคมในเด็กที่เป็นโรคไตเรื้อรังเปรียบเทียบกับเด็กกลุ่มควบคุม และประเมิน ความสัมพันธ์ระหว่างปัญหาจิตสังคมกับคุณภาพชีวิตในเด็กที่เป็นโรคไตเรื้อรัง วิธีการวิจัย เป็นการศึกษา cross-sectional ในเด็กที่เป็นโรคไตเรื้อรังและเด็กสุขภาพดี โดยใช้แบบประเมิน Strengths and Diffi culties Questionnaire (SDQ) และ Pediatric Quality of Life (PedsQL) เพื่อ ประเมินปัญหาจิตสังคมและคุณภาพชีวิต โดยเด็กและผู้ปกครองจากทั้งสองกลุ่มตอบแบบประเมินทั้งสองชนิด ผลการศึกษา ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังจํานวน 25 คนและเด็กกลุ่มควบคุมสุขภาพดีจํานวน 25 คนเข้าร่วมการวิจัยนี้ สาเหตุส่วนใหญ่ของโรคไตเรื้อรังเป็นความผิดปกติของไตและทางเดินปัสสาวะแต่กําเนิด และโรคไต glomerular พบว่าคะแนนเฉลี่ยของแบบประเมินปัญหาจิตสังคม SDQ ที่เด็กตอบด้วยตนเองโดยเฉพาะด้านอาการทาง อารมณ์ของเด็กที่เป็นโรคไตเรื้อรังสูงกว่าคะแนนของกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญ (p =0.02) คะแนน SDQ ใน เด็กที่เป็นโรคไตเรื้อรังที่ตอบโดยผู้ปกครองสูงกว่าหลายด้านโดยเฉพาะคะแนนรวมและด้านอาการทางอารมณ์ (p=0.02 and 0.01, ตามลําดับ) ส่วนคะแนนคุณภาพชีวิต PedsQL ที่ตอบโดยผู้ปกครองในกลุ่มเด็กที่เป็นโรค ไตเรื้อรังต่ํากว่าคะแนนของกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญโดยเฉพาะคะแนนรวม ด้านจิตสังคม และด้านสังคม (p=0.01, 0.02, 0.01 ตามลําดับ) พบว่ามีความสัมพันธ์เล็กน้อยและไปในทางตรงข้ามกันระหว่างปัญหาจิต สังคมและคุณภาพชีวิตในเด็กที่เป็นโรคไตเรื้อรัง (r=-0.47, p <0.05) สรุปผลการศึกษา เด็กที่เป็นโรคไตเรื้อรังเสี่ยงต่อปัญหาจิตสังคมโดยเฉพาะปัญหาด้านอารมณ์และมีแนวโน้ม ที่มีคุณภาพชีวิตต่ํากว่า ดังนั้น การให้การช่วยเหลือทางด้านจิตสังคมอาจมีความจําเป็นเพื่อให้ผลการรักษาและ คุณภาพชีวิตดีขึ้นสําหรับการปรับตัวเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ได้อย่างสมบูรณ์en_US
dc.languageEngen_US
dc.publisherFaculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
dc.titlePsychosocial problems and quality of life in children with chronic kidney diseaseen_US
dc.title.alternativeปัญหาจิตสังคมและคุณภาพชีวิตของเด็กที่เป็นโรคไตเรื้อรังen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleเชียงใหม่เวชสารen_US
article.volume53en_US
article.stream.affiliationsDepartment of Pediatrics, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
article.stream.affiliationsDepartment of Pediatrics, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
article.stream.affiliationsDepartment of Pediatrics, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
article.stream.affiliationsDepartment of Pediatrics, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.