Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65119
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorTavitiya Sudjaritruken_US
dc.contributor.authorPeninnah Oberdorferen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:41Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:41Z-
dc.date.issued2011en_US
dc.identifier.issn0125-5983en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/88091/69319en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65119-
dc.descriptionChiang Mai Medical Journal (Formerly Chiang Mai Medical Bulletin) is an official journal of the Faculty of Medicine, Chiang Mai University. It accepts original papers on clinical and experimental research that are pertinent in the biomedical sciences. The Journal is published 4 issues/year (i.e., Mar, Jun, Sep, and Dec).en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค เพื่อประเมินลักษณะทางคลินิกผลการรักษา และคาใชจายของเด็กติดเชื้อไขเลือด ออกที่เขารับการรักษาในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหมในชวงการระบาดของโรคในจังหวัด เชียงใหม ป พ.ศ. 2551 วิธีการศึกษา ทบทวนเวชระเบียนเด็กทุกรายที่ไดรับการยืนยันการติดเชื้อไขเลือดออกจากผลตรวจ ทางน้ำเหลือง และเขารับการรักษาในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม ในชวงเดือนมกราคม ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 ผลการศึกษา เด็กจำนวนทั้งหมด 130 ราย เขารวมในการศึกษานี้ คามัธยฐานของอายุคือ 12.2 ป (ระหวางอายุ9.7-13.9 ป) เปนเพศชาย 78 ราย (รอยละ 60) ผูปวยจำนวน 20 ราย (รอยละ 15.4) ได รับการวินิจฉัยเปนโรคไขเดงกี่ ผูปวยจำนวน 99 ราย (รอยละ 76.1) ไดรับการวินิจฉัยเปนโรคไข เลือดออก และผูปวยจำนวน 11 ราย (รอยละ 8.5) ไดรับการวินิจฉัยเปนโรคไขเลือดออกที่มีภาวะ ช็อค อาการนำสำคัญ 3 อันดับคือ ไข (รอยละ 98.5) คลื่นไสอาเจียน (รอยละ 66.9) และปวดกลาม เนื้อ (รอยละ 55.4) ในผูปวยเด็กที่ไดรับการวินิจฉัยเปนโรคไขเลือดออกที่มีภาวะช็อคจะพบความ ผิดปกติของระบบประสาท ตับโต น้ำในชองเยื่อหุมปอด และน้ำในชองทองมากกวาผูปวยเด็กที่ ไดรับการวินิจฉัยเปนโรคไขเดงกี่และไขเลือดออกอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.05) เด็กที่ไดรับ การวินิจฉัยเปนโรคไขเลือดออกที่มีภาวะช็อคตองเขารับการรักษาในโรงพยาบาลนานกวาเด็กที่ ไมมีภาวะช็อค อยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (7.1 วัน เทียบกับ 3.3 วัน, p <0.01) คาเฉลี่ยของคาใชจาย ในโรงพยาบาลในกลุมเด็กที่ไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคไขเลือดออกที่มีช็อคสูงถึง 10 เทาของเด็ก กลุมที่ไมมีภาวะช็อค อัตราตายโดยรวม คิดเปนรอยละ 1.5 สรุป เด็กที่ไดรับการวินิจฉัยเปนโรคไขเลือดออกที่มีภาวะช็อคจะมีอาการทางคลินิกรุนแรงกวา และตองเขารับการรักษาในโรงพยาบาลยาวนานกวาเด็กที่ไมมีภาวะช็อค ดังนั้น การวินิจฉัยและ รักษาอยางทันทวงที จะสามารถชวยลดอัตราการปวย อัตราการตายและคาใชจายในโรงพยาบาลen_US
dc.languageEngen_US
dc.publisherFaculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleClinical Characteristics and Outcomes of Dengue-infected Children Admitted to the Chiang Mai University Hospital During an Outbreak in 2008en_US
dc.title.alternativeอาการทางคลินิกและผลการรักษาของเด็กไขเลือดออกที่เขารับการรักษา ในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหมในชวงการระบาดป พ.ศ. 2551en_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleเชียงใหม่เวชสารen_US
article.volume50en_US
article.stream.affiliationsDivision of Infectious Diseases, Department of Pediatrics, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
article.stream.affiliationsDivision of Infectious Diseases, Department of Pediatrics, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.