Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65090
Title: | การขับขานวรรณกรรมล้านนา : จ๊อย |
Other Titles: | Joi : Sing a Lanna Traditinal Literature |
Authors: | คณิเทพ ปิตุภูมินาค ณัฐพงษ์ ปัญจบุรี สงกรานต์ สมจันทร์ |
Authors: | คณิเทพ ปิตุภูมินาค ณัฐพงษ์ ปัญจบุรี สงกรานต์ สมจันทร์ |
Issue Date: | 2557 |
Publisher: | คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
Abstract: | จ๊อย คือ การขับขานวรรณกรรมประเภทคร่าว หรือ ค่าว มีลีลา (เรียกว่าระบำ) ใช้สำหรับขับขาน 3 ประเภทได้แก่ ระบำวิงวอน ระบำโก่งเฮียวบง และระบำม้าย่ำไฟ บทความนี้นำจ๊อยมาวิเคราะห์ โดยใช้องค์ความรู้ด้านดนตรีชาติพันธุ์วิทยาผสานกับองค์ความรู้ด้านภาษาศาสตร์เพื่อหาลักษณะเฉพาะของการจ๊อย จากการวิเคราะห์ข้อมูลผู้เขียนได้นเสนอประเด็นสำคัญ 3 ประเด็นได้แก่ 1) การเอื้อนในการจ๊อยมี 3 รูปแบบคือ การเอื้อนแบบเคลื่อนโน้ต การเอื้อนแบบลากยาว และการเอื้อนในคำ การเอื้อนพบอยู่ในการจ๊อยระบำวิงวอนและระบำโก่งเฮียวบงซึ่งพบในตำแหน่งต่างกัน 2) ทำนองจ๊อย มี 4 ประเภท ได้แก่ ทำนองหลัก ทำนองรอง ทำนองเสริม และทำนองเสียงซ้ำและ 3) การสร้างทำนองจ๊อยมีความสัมพันธ์กับภาษาถิ่น โดยพบว่ามีความสัมพันธ์กันใน 3 รูปแบบคือ ทำนองที่เกิดจากการบังคับของวรรณยุกต์ ทำนองที่เกิดจากการสวนทางกันระหว่างทำนองและเสียงวรรณยุกต์ และ ทำนองที่เกิดอย่างอิสระ |
Description: | วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) |
URI: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77230/61982 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65090 |
ISSN: | 1906-0572 |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.