Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65064
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปาริฉัตร แสนไชยen_US
dc.contributor.authorจิราภรณ์ ปัญญาเย็นen_US
dc.contributor.authorอุไร สินไพบูลย์en_US
dc.contributor.authorอรุณี กาพย์ไชยen_US
dc.contributor.authorณัฏฐณิชา ศรีบุณยวัฒนen_US
dc.contributor.authorกฤษฎิ์ ทองบรรจบen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:38Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:38Z-
dc.date.issued2017en_US
dc.identifier.issn0125-5983en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/92740/72623en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65064-
dc.descriptionChiang Mai Medical Journal (Formerly Chiang Mai Medical Bulletin) is an official journal of the Faculty of Medicine, Chiang Mai University. It accepts original papers on clinical and experimental research that are pertinent in the biomedical sciences. The Journal is published 4 issues/year (i.e., Mar, Jun, Sep, and Dec).en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความรู้เรื่องการจัดการอาการไข้ในผู้ป่วยเด็กแก่ผู้ปกครองตามโปรแกรมชุด ความรู้การจัดการไข้ วิธีการศึกษา เป็นการศึกษาภาคตัดขวาง เพื่อประเมินความรู้ตามโปรแกรมชุดความรู้การจัดการไข้แก่ผู้ ปกครองของเด็กอายุแรกเกิดถึง 5 ปีที่เข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยในของโรงพยาบาลนครพิงค์ ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน – 31 กรกฎาคม 2559 ผู้ปกครองทุกรายตอบแบบสอบถามเพื่อประเมินความรู้การจัดการไข้ ในเด็ก ทั้งก่อนและหลังการให้การอบรมตามโปรแกรมชุดความรู้การจัดการไข้แบบตัวต่อตัวโดยพยาบาล วิชาชีพ การอบรมประกอบด้วยการบรรยาย การสาธิต และการฝึกปฏิบัติ แบบสอบถามประเมินความรู้ ประกอบด้วยคำถามให้เลือกตอบถูก (1 คะแนน) หรือผิด (0 คะแนน) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของคะแนนความรู้ด้วย Paired T-Test และ ANOVA ผลการศึกษา ผู้ปกครองของเด็กที่มีอาการไข้จำนวน 62 ราย ร้อยละ 88.7 เป็นมารดาของเด็ก มีอายุเฉลี่ย 28 ปี เด็กที่เข้ารับการรักษามีอายุเฉลี่ย 1.91 ปี การประเมินความรู้เรื่องการจัดการไข้ในเด็กพบว่าความ เข้าใจเรื่องการให้ยาแก้ไข้แก่เด็กที่ผู้ปกครองตอบผิดมากที่สุดทั้งก่อนและหลังการอบรมคือ ปริมาณยาที่ ควรให้ (ร้อยละ 40.0 และ34.3 ตามลำดับ) หลังการอบรมผู้ปกครองมีคะแนนความรู้เฉลี่ยสูงขึ้นอย่างมีนัย สำคัญ (t=12.25, p<0.001) ผูป้ กครองที่เปน็ คนไทยและผูท้ ี่มีสิทธิการรักษาแบบขา้ ราชการพบวา่ มีคะแนน ความรูก้ อ่ นการอบรมสูงกวา่ ผูป้ กครองที่เปน็ ชาวตา่ งดา้ วและมีสิทธิการรักษาแบบอื่น ๆ อยา่ งมีนัยสำคัญ (F=18.87, p<0.01 และ F=6.45, p<0.01 ตามลำดับ) แต่ไม่พบความแตกต่างดังกล่าวหลังการอบรม สรุปผลผลการศึกษา โปรแกรมชุดความรู้การจัดการไข้ในเด็กสำหรับผู้ปกครองที่พัฒนาขึ้นสามารถใช้ใน การให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองได้เป็นอย่างดี ทำให้ผู้รับการอบรมที่พื้นฐานต่างกันมีความรู้ใกล้เคียงกัน ควรมีแนวทางให้มีการให้ความรู้เรื่องการจัดการไข้ในเด็กแก่ประชาชนเพื่อให้สามารถดูแลด้วยตัวเอง อัน จะนำไปสู่การลดภาระในระบบสุขภาพและโรงพยาบาลได้ต่อไปen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherFaculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleนิพนธ์ต้นฉบับ : การอบรมความรู้การจัดการอาการไข้ในเด็กสำหรับผู้ปกครองen_US
dc.title.alternativeChildhood fever management education program for parentsen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleเชียงใหม่เวชสารen_US
article.volume56en_US
article.stream.affiliationsโรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsโรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsโรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsโรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliations2กลุ่มวิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.