Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65027
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอรทัย ยินใสen_US
dc.contributor.authorหทัยรัตน์ ธนัญชัยen_US
dc.contributor.authorขวัญจิต ดวงสงค์en_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:37Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:37Z-
dc.date.issued2016en_US
dc.identifier.issn0125-5983en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/87780/69226en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65027-
dc.descriptionChiang Mai Medical Journal (Formerly Chiang Mai Medical Bulletin) is an official journal of the Faculty of Medicine, Chiang Mai University. It accepts original papers on clinical and experimental research that are pertinent in the biomedical sciences. The Journal is published 4 issues/year (i.e., Mar, Jun, Sep, and Dec).en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสามารถของ Streptococcus suis (S. suis) จํานวน 5 สายพันธุ์ ในการ รุกรานเข้าสู่เซลล์และยึดเกาะบนผิวเซลล์เพาะเลี้ยงโมโนไซต์ของมนุษย์ (U937) วิธีการศึกษา การศึกษานี้ได้ทําการเพาะเลี้ยง S. suis จํานวน 5 สายพันธุ์ โดยเป็นเชื้อในซีโรไทป์ 2 สายพันธุ์ P1/7, LPH210/53 และ TSK10.4 และ ซีโรไทป์ 14 สายพันธุ์ MNCM07 และ TD2.2 ที่แยกได้ จากผู้ป่วย สุกรป่วย และสุกรปกติ จากนั้นทุกสายพันธุ์จะถูกนําไปทดสอบความสามารถในการรุกรานเข้าสู่ เซลล์ และการยึดเกาะบนผิวเซลล์โมโนไซต์ U937 ด้วยวิธี bacterial invasion and adhesion assay ผลการศึกษา จากการศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างเชื้อ S. suis ทั้ง 5 สายพันธุ์กับเซลล์ U937 พบว่า S. suis มีปริมาณแบคทีเรียรุกรานเข้าสู่เซลล์เพียงประมาณร้อยละ 0.002–0.270 ของปริมาณเชื้อที่เติมลงไป ทั้งหมด และพบว่าสายพันธุ์ LPH210/53 มีความสามารถในการเข้าสู่เซลล์ได้มากที่สุดอย่างมีนัยสําคัญใน ทุก multiplicity of infection; MOI ที่ทดสอบ ส่วนร่อยละแบคทีเรียยึดเกาะนั้น พบว่าเชื้อ S. suis ทั้ง 5 สายพันธุ์มีปริมาณเชื้อยึดเกาะอยู่ประมาณร้อยละ 3-14 ของปริมาณแบคทีเรียที่เติมลงไปทั้งหมด โดยสาย พันธุ์ LPH210/53 และ TD2.2 มีความสามารถในการยึดเกาะมากกว่าสายพันธุ์อื่น ๆ อย่างมีนัยสําคัญที่ MOI=10 นอกจากนี้ เมื่อเปรียบเทียบที่สายพันธุ์เดียวกัน แต่ MOI ต่างกัน พบว่า S. suis มีปริมาณเชื้อยึด เกาะที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ ยกเว้นที่ MOI=10 ของสายพันธุ์ LPH210/53 และ TD2.2 มีการยึด เกาะได้มากกว่า MOI อื่นอย่างมีนัยสําคัญ สรุปผลการศึกษา S. suis สายพันธุ์ LPH210/53 มีความสามารถในการรุกรานเข้าสู่เซลล์ U937 ได้สูงสุด ที่ประมาณร้อยละ 0.270 และสายพันธุ์ LPH210/53, TD2.2 มีความสามารถยึดเกาะสูงกว่าสายพันธุ์อื่น ๆ อย่างมีนัยสําคัญ ที่ MOI=10 ซึ่งการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าความสามารถของ S. suis ในการยึดเกาะ บนเซลล์โมโนไซต์นี้จะแตกต่างกันไปในแต่ละสายพันธุ์แม้จะเป็นเชื้อซีโรไทป์เดียวกันหรือแยกได้จากแหล่ง เดียวกันก็ตาม โดยอาจมีปัจจัยอื่นร่วมด้วย นอกจากนี้การศึกษาครั้งนี้อาจช่วยสนับสนุนความเข้าใจถึง กลไกการก่อโรค และยังอาจนําไปสู่แนวทางการรักษาโรคติดเชื้อ S. suis อีกด้วยen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherFaculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleนิพนธ์ต้นฉบับ : การศึกษาการเข้าสู่เซลล์ และการยึดเกาะของเชื้อ Streptococcus suis ต่อเซลล์ U937en_US
dc.title.alternativeStudy of Streptococcus suis invasion and adhesion on U937 cellsen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleเชียงใหม่เวชสารen_US
article.volume55en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.