Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64915
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorSoe Lin Aungen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:31Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:31Z-
dc.date.issued2555en_US
dc.identifier.urihttp://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/Notes%20on%20the%20Practice%20of%20Everyday%20Politics.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64915-
dc.descriptionวารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการen_US
dc.description.abstractเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมาได้เกิดข้อถกเถียงจำนวนมากเกี่ยวกับกิจกรรม “ภาคส่วนเรื่องการปกป้อง” ในวงกว้างของบรรดาหมู่นักมนุษยธรรม เช่น การถกเถียงต่อการนำเสนอความคิดเรื่องการปกป้องตนเองในฐานะเป็นมาตรวัดร่วมกัน นอกเหนือไปจากการเล่าเรื่องในเชิงของการตกเป็นเหยื่อของการถูฏแทรกแซงของอิทธิพลภายนอกในกลุ่มคนชายขอบเพียงเท่านั้น โดยเฉพาะในพื้นที่บริเวณตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ของพม่านั้น วาทกรรมว่าด้วยเรื่องการปกป้องตนเองได้เป็นข้อค้นพบของบรรดานักวิจัยและนักปฏิบัติทั้งหลายที่ทำงานในประเด็นที่สัมพันธ์กับหัวข้อเรื่องผู้พลัดถิ่นภายใน อยู่ในขณะนี้ อย่างไรก็ตาม การศึกษาดังกล่าวยังคงขาดการค้นพบในเชิงลึกที่ปรากฏในชุมชนผู้ย้ายถิ่นของพื้นที่ ถ้าหากพิจารณาในช่องว่างของรายงานชิ้นนี้ ข้อค้นพบของรายงานวิจัยได้รวบรวมข้อมูลจากช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ในพื้นที่ชุมชนของผู้ย้ายถิ่นจากพม่า ผู้ย้ายถิ่นเหล่านี้ใช้ชีวิตและอาศัยอยู่ในตัวเมืองแม่สอด และพื้นที่รอบนอก ซึ่งต่างอยู่ในบริเวณชายแดนไทย-พม่า บทความชิ้นนี้ยังให้รายละเอียดเกี่ยวกับยุทธศาสตรของการปกป้องตนเองที่สัมพันธ์ในเรื่องการเข้าถึงด้านสุขภาพ อาหาร การดำรงชีพ และความมั่นคงส่วนบุคคล นอกจากนี้ การวิเคราะห์ได้หยิบเอากรอบคิดของปฏิบัติการดังกล่าวในฐานะเป็น “การเมืองระดับชีวิตประจำวัน”ในพื้นที่ซึ่งชุมชนผู้ย้ายถิ่นเรียกร้องสิทธิไปโดยปริยายเพื่อการดำรงชีวิตอยู่นอดในด้านจริยธรรมและวัฒนธรรม การทำความเข้าใจชีวิตประจำวันในเชิงการทำให้เป็นเรื่องการเมือง (อีกครั้ง) ในชุมชนของผู้ย้ายถิ่นได้นำพาไปสู่กรอบคิดที่กว้างขึ้นของแรงงานย้ายถิ่นจากพม่า ในคำอธิบายของ ไมเคิล เอดาส กรอบคิดดังกล่าวสามารถเข้าใจได้ในฐานะเป็นรูปแบบของ “การประท้วงอย่างหลีกเลี่ยง” นอกจากนี้ยังเป็นการต้านต่อฉากหลังของพม่าที่หันกลับมาสู่ความเป็นเสรีนิยมใหม่ซึ่งทำให้เป็นการเปลี่ยนย้ายครั้งใหญ่ในการคิดคำนวนต่อยุทธศาสตร์การดึงเข้า-ผลักออกที่ได้ดำเนินมาอย่างเนิ่นนานในส่วนการก่อสร้างความเป็นพลวัตของการย้ายถิ่นในพื้นที่ชายแดนที่เกิดขึ้น เช่น เปลี่ยนความหมายต่อการอดทนเพื่อสร้างความรู้สึกที่แข็งแกร่งขึ้นต่อการสนองตอบที่เป็นรูปธรรมในสถานการณ์ที่แน่นอนและไม่แน่นอนของผู้ย้านถิ่น ในจุดนี้พิสูจน์ได้ว่าเป็นว่าระสำคัญสำหรับนักวิจัยและนักปฏิบัติทั้งหลายที่อยู่แถวหน้าในทุกวันนี้en_US
dc.languageEngen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์en_US
dc.titleบันทึกปฏิบัติการการเมืองในชีวิตประจำวัน: ทบทวนการปกป้องตนเองของแรงงานในชุมชนผู้ย้านถิ่นบริเวณชายแดนไทย-พม่าen_US
dc.title.alternativeNotes on the Practice of Everyday Politics: Rereading the Labour of Self-protection among Migrant Communities on the Thai-Burma Borderen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารสังคมศาสตร์en_US
article.volume24en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.