Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64905
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชุติมา ประกาศวุฒิสารen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:31Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:31Z-
dc.date.issued2554en_US
dc.identifier.urihttp://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/09200%201446601435.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64905-
dc.descriptionวารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการen_US
dc.description.abstractแม่เบี้ย (2530) เป็นนวนิยายที่มีแก่นเรื่องเกี่ยวกับการแสวงหารากเหง้า ตัวละครเอกชายคือ ชนะชล การออกเดินทางของชนะชลไปยังชนบทที่ สุพรรณบุรีทําให้เขาพบกับเมขลาซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของเรื่องราวความรักและความปรารถนาอันสิ้นสุดลงที่ความตายของชนะชล หากมองอย่างผิวเผินอาจสรุปว่าสาเหตุ ของความหายนะและความตายของชนะชลมาจากการพบเจอกับผู้ หญิงที่ชี่อเมขลา อย่างไรก็ตามบทความชิ้นนี้ชี้ให้เห็นว่าการเสียชีวิตของชนะชลถือเป็นโศกนาฏกรรมของปัจเจกชนในสังคมสมัยใหม่และสาเหตุสําคัญของการ เสียชีวิตของชนะชลมิได้มาจากสตรีเพศ การถวิลหาสิ่งที่ขาดหายไปในโลก ทุนนิยมสมัยใหม่ของชนะชลนำไปสู่การสร้างเมขลาให้เป็นวัตถุแห่งการคลั่งไคล้ ใหลหลง เพื่อชดเชยความรู้สึกว่างเปล่าและขาดพร่องในจิตใจของตน อย่างไร ก็ตามการหลงติดในมายาภาพที่ตนสร้างขึ้นทําให้ชนะชลปฏิเสธโลกความ เป็นจริงและเลือกที่จะเผชิญกับความตายในท้ายที่สุดen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์en_US
dc.title"บ้านเคยอยู่ อู่เคยนอน": การโหยหาอดีตและการสร้างจินตภาพให้กัยสตรีในนวนิยายแม่เบี้ยen_US
dc.title.alternativeLove is Homesickness”1: Nostalgia and the Fetishisation of the Female Body in Mae Biaen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารสังคมศาสตร์en_US
article.volume23en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.