Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64878
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorหทัยกานต์ สังขชาติen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:30Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:30Z-
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.urihttp://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/95200%201447040356.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64878-
dc.descriptionวารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการen_US
dc.description.abstractบทความชิ้นนี้มุ่งที่จะเปิดพื้นที่และกระตุ้นความสนใจในวงวิชาการ การศึกษาเรื่องสิทธิในการเข้าถึงและจัดการทรัพยากร โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งการยอมรับสิทธิชุมชนในฐานะที่เป็นทางออกในการจัดการทรัพยากร อย่างยั่งยืน เนื้อหาของบทความย้อนให้เห็นถึงความไม่ลงรอยกันของรูป แบบสิทธิที่มีอยู่ในชุมชนอย่างน้อย 3 รูปแบบได้แก่สิทธิแบบรัฐ สิทธิแบบ ปัจเจกบุคคล และสิทธิชุมชนการปะทะประสานของสิทธิทั้ง 3 รูปแบบ นี้นำาไปสู่การสร้างกฎเกณฑ์และข้อตกลงใหม่ด้วยการอ้างสิทธิปัจเจกแบบไม่เต็มรูป สิทธิปัจเจกแบบไม่เต็มรูปดังกล่าวถูกสร้างขึ้น เพื่อให้ เกิดการจัดสรรทรัพยากรอย่างเป็นธรรม ภายใต้กระบวนการสร้างกฎ เกณฑ์และข้อตกลงต่างๆ ร่วมกันโดยให้ความสำาคัญกับสิทธิเชิงซ้อนที่ ผนวกเอาสิทธิในการใช้ประโยชน์ สิทธิในการจัดการ และสิทธิในการ ควบคุมหลายระนาบเข้าด้วยกัน นอกเหนือไปจากการสร้างรูปแบบการจัดการทรัพยากรที่วางอยู่ บนพื้นฐานของระบบสิทธิเชิงซ้อนแล้ว ชุมชนกะเหรี่ยงโปว์บ้านหนอง หลักได้นิยามความหมายใหม่และยืนยันการมีตัวตนของชุมชนและกลุ่ม ชาติพันธุ์กะเหรี่ยงด้วยการสร้างภาพลักษณ์ในหลายระดับ กล่าวคือใน ระดับชุมชน มีการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายของคนกลุ่มต่างๆ ที่มีทั้งความคิดเห็นสอดคล้องและขัดแย้งกันมาแปรเปลี่ยนเป็นพลัง ขับเคลื่อน จนทำาให้ชุมชนมีภาพลักษณ์เป็นชุมชนอนุรักษ์ หรือชุมชน กะเหรี่ยงพัฒนา ซึ่งมีฐานะเป็นอำานาจเชิงสัญลักษณ์ส่งผลให้ชุมชน สามารถแปลงเป็นทุนเพื่อร่วมเคลื่อนไหวทางสังคมด้วยการแสดงออก ทางวัฒนธรรมในระดับต่างๆ ตลอดจนร่วมชุมนุมเรียกร้องให้รัฐดำาเนิน การตามข้อเสนอในระดับนโยบาย ส่วนในระดับปัจเจกหรือในระดับครัว เรือนพบว่า มีความพยายามคิดค้นรูปแบบการทำาเกษตรในเชิงอนุรักษ์ ในระดับบุคคล ไปจนถึงความพยายามในการลดแรงกดดันการใช้พื้นที่ ป่าในระดับครัวเรือน ด้วยการแบ่งสมาชิกออกไปรับจ้างทั้งในประเทศ และต่างประเทศen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์en_US
dc.titleพลวัตและการต่อรอง "สิทธิ" ในการจัดการทรัพยากร: กรณีศึกษาชุมชรกะเหรี่ยงโปว์บ้านหนองหลัก อ.ทุ่งหัวช้าง จ.ลำพูนen_US
dc.title.alternativeDynamics and Negotiation of “Rights” to Resource Management: A Case Study in the Pwo Karen Nong Lak Community, Thung Hua Chang District, Lamphun Provinceen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารสังคมศาสตร์en_US
article.volume21en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.