Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64876
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกานต์ชนก ประกาศวุฒิสารen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:30Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:30Z-
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.urihttp://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/26900%201446618703.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64876-
dc.descriptionวารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการen_US
dc.description.abstractบทความนี้เป็นการทำาความเข้าใจต่อการเคลื่อนไหวของประชา สังคมในเขตเมืองเชียงใหม่ ต่อประเด็นปัญหาที่เกิดจากความเป็นเมือง โดยสนใจศึกษาในช่วงเวลาระหว่างปี พ.ศ. 2540 - 2551 ซึ่งเป็นช่วงเวลา ที่เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการพัฒนาท้องถิ่นและ/หรือตรวจ สอบการทำางานของภาครัฐอย่างกว้างขวาง การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาความเป็นเมืองที่เกิดขึ้นในเขตเมืองเชียงใหม่ ทั้งทางด้าน สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และปัญหาที่เกิดขึ้นจากความเป็นเมือง และ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเคลื่อนไหวของกลุ่มประชาสังคม 5 กลุ่มคือ องค์กรกลุ่มเพื่อนร่วมงาน (POP) ภาคีคนฮักเจียงใหม่ ชมรมจักรยาน วันอาทิตย์ เชียงใหม่ ชาวบ้านวัดเกต และชุมชนสุเทพ ผลการศึกษาพบว่า การพัฒนาที่มุ่งเน้นให้เชียงใหม่เป็นศูนย์กลาง ส่วนภูมิภาค ทำาให้เกิดภาวะความเป็นเมืองของเมืองเชียงใหม่ โดย สามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะคือ 1) ความเป็นเมืองเชิงพื้นที่ ดัง จะเห็นว่ามีการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในเขตเมืองอย่างชัดเจน โดย เฉพาะความหนาแน่นของพื้นที่อยู่อาศัยและการกระจายตัวของพื้นที่ พาณิชยกรรม อาคารสูงกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป มีสิ่งปลูกสร้างต่างๆ อย่างไร้ระเบียบ และการเพิ่มสูงขึ้นราคาที่ดินในเขตเมือง 2) ความเป็น เมืองเชิงสังคม กล่าวคือ มีการเพิ่มขึ้นของจำานวนประชากรและความ หนาแน่น ตลอดจนการเพิ่มขึ้นของรายได้ต่อปีของประชากร และ 3) ความเป็นเมืองเชิงการเมือง ซึ่งเกิดจากนโยบายทั้งจากภาครัฐส่วน กลางและจากหน่วยงานท้องถิ่น ขณะเดียวกันความเป็นเมืองดังกล่าว ก็นำามาสู่ปัญหาของความเป็นเมือง กล่าวคือ ปัญหาจากการกำาหนด นโยบายของภาครัฐโดยขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน ปัญหาเรื่อง ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ปัญหาช่องว่างทาง วัฒนธรรม ปัญหาความเหลื่อมลำ้าทางเศรษฐกิจ สำาหรับการเคลื่อนไหวของกลุ่มประชาสังคม พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ทั้งหมดนั้นมีเป้าหมายการทำางานร่วมกัน คือ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วม ของประชาชนในการพัฒนาเมืองเชียงใหม่ให้เป็นไปอย่างมีทิศทางที่ ชัดเจนและสอดรับกับความต้องการของประชาชน โดยการมีส่วนร่วม นั้นต้องเป็นการมีส่วนร่วมในการรับรู้ข้อมูลโครงการการพัฒนาต่างๆ อย่างโปร่งใส ชัดเจน มีส่วนร่วมในการนำาเสนอข้อเสนอแนะและร่วม ตัดสินใจ ซึ่งกลุ่มประชาสังคมส่วนใหญ่จะทำางานในลักษณะยืดหยุ่น และเป็นการทำางานในลักษณะของอาสาสมัคร หากแต่สามารถที่จะ ตรวจสอบ ผลักดัน และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาในเมือง เชียงใหม่ ร่วมกับการสร้างจิตสำานึกร่วมของคนที่อาศัยอยู่ในเมือง เชียงใหม่และเด็กเยาวชนรุ่นหลังen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์en_US
dc.titleการเคลื่อนไหวของประชาสังคม ในเมืองเชียงใหม่ต่อประเด็นปัญหา ที่เกิดจากความเป็นเมืองระหว่าง ปี พ.ศ. 2540 – 2551en_US
dc.title.alternativeSocial Movements in Chiang Mai Against Problems from Urbanization During 1997-2008en_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารสังคมศาสตร์en_US
article.volume21en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.