Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64682
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภคมน ธรรมมิตรสกุลen_US
dc.contributor.authorอนุชา พรมวังขวาen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:19Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:19Z-
dc.date.issued2553en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/17_3/5Paccamon.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64682-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractในการศึกษานี้ต้องการหาความสามารถในการดูดซับพลังงานของแผงบังกันชนหน้ารถบรรทุกเล็กโดยวิธีการไฟไนต์ เอลิเมนต์แบบไม่เป็นเชิงเส้นด้วยการสร้างแบบจำลองการชนโดยตรงจากด้านหน้ากับกำแพงแกร่งของแผงบังกันชนที่ผลิต จากวัสดุเหล็กไร้สนิมเกรด 304 โดยการศึกษาจะเปรียบเทียบผลจากตัวแปรรูปร่างจำนวน 4 รูปแบบ, ความหนาของวัสดุแผง บังกันชน 3 ความหนา และความเร็วเริ่มต้นของการชนระหว่าง 4 ถึง 56 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ผลการศึกษาพบว่าความเร็ว เริ่มต้นของการชนเป็นปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการดูดซับพลังงานของแผงบังกันชนมากที่สุด นั่นคือที่ความเร็วของ การชนต่ำไม่เกิน 18.5 กิโลเมตรต่อชั่วโมง แผงบังกันชนยังคงสามารถดูดซับพลังงานจากการชนไว้ได้เกือบทั้งหมดหรือมี ค่าเฉลี่ยเกินกว่าร้อยละ 98 ของพลังงานจลน์เริ่มต้น แต่สำหรับการชนด้วยความเร็วเริ่มต้นสูงขึ้นที่ 30 และ 56 กิโลเมตรต่อ ชั่วโมง ความสามารถในการดูดซับพลังงานของแผงบังกันชนจะลดลงเหลือเพียงร้อยละ 64.4 และร้อยละ 23.33 ตามลำดับ รูปร่างของแผงบังกันชนที่ซับซ้อนและความหนาของวัสดุมีผลต่อความสามารถในการดูดซับพลังงานของแผงบังกันชน ค่อนข้างน้อย การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงความเร่งสูงสุดของแผนกันชนในขณะที่ชนพบว่าขึ้นอยู่กับความเร็วเริ่มต้นของ การชนอย่างมาก และที่ความเร็วการชนสูงขึ้นจะทำให้การเปลี่ยนแปลงความเร่งสูงสุดมีค่าเพิ่มสูงขึ้นen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.titleการประเมินความสามารถในการดูดซับพลังงานของแผงบังกันชน ด้านหน้ารถบรรทุกเล็กen_US
dc.title.alternativeEvaluation of Energy Absorption Capability of Light Truck’s Front Nudge Baren_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
article.volume17en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.