Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64680
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ธีราพรรณ แซ่แห่ว | en_US |
dc.contributor.author | นิวิท เจริญใจ | en_US |
dc.contributor.author | วิชัย ฉัตรทินวัฒน์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:19Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:19Z | - |
dc.date.issued | 2553 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-2178 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/17_2/6Teerapan.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64680 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี่นำเสนอแนวทางในการนำเอาระบบมดแบบ แม็ก-มิน มาประยุกต์ใช้ในการหาคำตอบของปัญหา การจัดสมดุลสายการประกอบ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีเวลานำ งานระหว่างผลิต และค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดนอกจากนี้ ยังได้ศึกษาและทดสอบหาพารามิเตอร์ที่มีผลต่อประสิทธิภาพของระบบมดแบบ แม็ก-มินซึ่งได้แก่จำนวนรอบการ ทำงานต่อจำนวนมด ค่าน้ำหนักของฟีโรโมน ค่าน้ำหนักของฮิวริสติก และอัตราการระเหยของฟีโรโมน แล้วนำ พารามิเตอร์ที่ได้ไปแก้ปัญหาตัวอย่างของการจัดสมดุลสายการประกอบ จากงานวิจัยนี้พบว่าพารามิเตอร์ที่มีผลอย่าง มีนัยสำคัญคือปัจจัยค่าถ่วงน้ำหนักของฮิวริสติก ดังนั้นในการนำระบบมดแบบ แม็ก-มินไปใช้จริงต้องมีการกำหนด ค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสม ซึ่งอาจจะนำค่าที่เหมาะสมที่ได้จากการทดลองในงานวิจัยนี้เป็นแนวทางเบื้องต้นได้ ผลจากการเปรียบเทียบคำตอบที่ได้จากวิธีระบบมดแบบ แม็ก-มิน กับวิธีการฮาโมนี เสิร์ช อัลกอริทึม พบว่าวิธี ระบบมดแบบ แม็ก-มินจะให้ผลลัพธ์ที่ดีกว่า ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าวิธีระบบมดแบบ แม็ก-มินเป็นวิธีการหาคำตอบ สำหรับการจัดสมดุลสายการประกอบที่มีประสิทธิภาพ และสามารถให้คำตอบที่ดีภายในระยะเวลาที่กำหนดให้ได้ | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.title | การประยุกต์ใช้ระบบมดแบบ แม็ก-มิน ในการจัด สมดุลสายการประกอบ | en_US |
dc.title.alternative | Application of Max-Min Ant System in Assembly Line Balancing | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
article.volume | 17 | en_US |
article.stream.affiliations | ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
article.stream.affiliations | ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
article.stream.affiliations | ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.