Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64653
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวรกิจ วัฒนวิกย์กรรม์en_US
dc.contributor.authorสันติชัย ชีวสุทธิศิลป์en_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:18Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:18Z-
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.issn0857-2180en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/16_1/2Warakit.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64653-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เกิดจากปัญหาการผลิตชิ้นส่วนไดนาโมที่ย้ายการผลิตจากต่างประเทศมาผลิตที่โรงงานแห่งใหม่ ในประเทศไทย โรงงานประสบปัญหาคือ เป็นงานใหม่ที่ไม่เคยผลิตมาก่อนทำให้ในช่วงเริ่มต้นมีจำนวนของเสีย 3,160 ชิ้น และจำนวนรอยตำหนิ 30 รอยตำหนิ ดังนั้นวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ หาค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมในการฉีดพลาสติก ชิ้นส่วนไดนาโมเพื่อลดจำนวนรอยตำหนิและจำนวนของเสีย โดยการทดลองเชิงแฟคทอเรียลแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ การคัดกรองปัจจัยด้วยวิธีแฟคทอเรียลเชิงเศษส่วนและการหาเงื่อนไขที่เหมาะสมในการทดลองด้วยวิธีแฟคทอเรียลแบบ เต็มจำนวน เพิ่มการทดลองซ้ำและวิเคราะห์ค่ากลางเพื่อเพิ่มความแม่นยำในการทดลอง ปัจจัยศึกษามี 6 ปัจจัยได้แก่ 1) กำลัง ในการฉีด 2)ความเร็วในการฉีด 3)ระยะเวลาในการฉีด 4)ระยะเวลาหล่อเย็น 5)อุณหภูมิในการฉีด 6)อุณหภูมิแม่พิมพ์ ผลตอบจากการทดลองคือรอยตำหนิบนชิ้นส่วนไดนาโม แบ่งเป็น 4 ชนิดหลักคือชิ้นส่วนไดนาโมที่มีรอยด่าง ลายเส้น รอยไหม้ และรอยยุบ จากนั้นแปลงค่าจำนวนรอยตำหนิแล้ววิเคราะห์ผล ผลการวิจัยพบว่ามี 3 ปัจจัยที่ส่งผลต่อรอยตำหนิ ของชิ้นส่วนไดนาโมอย่างมีนัยสำคัญที่ความเชื่อมั่นร้อยละ 95 (α = 0.05) โดยพารามิเตอร์ที่เหมาะสมในการฉีดพลาสติก ได้แก่ ความเร็วในการฉีด 120 มิลลิเมตรต่อวินาที ระยะเวลาการฉีด 8 วินาที และอุณหภูมิแม่พิมพ์ 60 องศาเซลเซียส ปรากฏ ว่าจำนวนรอยตำหนิลดลงเหลือ 10 รอยตำหนิ (66.67%) และจำนวนงานเสียลดลงเหลือ 2,068 ชิ้น (34.50%) แต่พบว่าจำนวน รอยตำหนิบางประเภทเช่น รอยไหม้เหลืออยู่ ดังนั้นจึงทำการปรับแก้ไขแม่พิมพ์ฉีดพลาสติกโดยเพิ่มขนาดของช่องระบาย อากาศใหม่ ทำให้ลดจำนวนรอยตำหนิต่อชิ้นส่วนไดนาโมเหลือเพียง 2 รอยตำหนิ (93.33%) และลดจำนวนงานเสียเหลือ เพียง 486 ชิ้น (84.60%)en_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.titleการลดจำนวนรอยตำหนิในการฉีดพลาสติกชิ้นส่วนไดนาโมen_US
dc.title.alternativeDefects Reduction in Plastic Injection Dynamo Parten_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
article.volume16en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.