Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64637
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorทัศนีย์ สุนทรธรรมen_US
dc.contributor.authorเดช ดํารงศักดิ์en_US
dc.contributor.authorณัฐ วรยศen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:17Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:17Z-
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://e-faclib.lib.cmu.ac.th/e-faclib/data/eng/2009/4/23/3%B7%D1%C8%B9%D5%C2%EC.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64637-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ศึกษาและออกแบบผนังทรอมบ์ที่ใช้คอนกรีตบล็อกเป็นวัสดุ สําหรับระบายความร้อนแบบ ธรรมชาติที่ผนังบ้าน โดยในงานวิจัยได้ออกแบบให้คอนกรีตมีขนาดใกล้เคียงกับขนาดมาตรฐาน คือ มีความสูง 20 cm ความกว้าง 50 cm ส่วนความหนาของคอนกรีตจะขึ้นอยู่กับความหนาผนังชั้นนอกที่ออกแบบให้มีค่า 1 cm และ 2 cm โดยคอนกรีตจะมีความกว้างของช่องอากาศเท่ากับ 5 cm และมีความสูงของช่องเปิดผนัง 4-10 cm ซึ่งคอนกรีตที่ ออกแบบจะนํามาสร้างเป็นผนังทรอมบ์ 2 แบบ คือ ที่ความสูงของช่องระบายอากาศ 100 cm 1 ผนัง และที่ความสูง ของช่องระบายอากาศ 50 cm ซ้อนกัน 2 ผนัง ซึ่งผนังแต่ละชั้นจะมีช่องเปิดผนังเข้าและออก และให้ความร้อนแก่ ระบบโดยใชแหล่งจําลองความร้อนจากชุดหลอดไฟแบบฮาโลเจน ที่ฟลักซ์ความร้อน 400 – 1000 W/m2 จากการ ทดลองพบว่า อัตราการไหลเชิงมวลของอากาศมีค่ามากที่สุดเท่ากับ 0.00184 kg/s และประสิทธิภาพในการระบาย ความร้อนมีค่ามากที่สุดเท่ากับ 52% ในกรณีที่ความสูงของช่องระบายอากาศ 50 cm ซ้อนกันสองชั้น ฟลักซ์ความ ร้อน 1000 W/m2 ความสูงของช่องเปิดผนัง 10 cm และความหนาผนังชั้นนอก 1 cm สําหรับตัวเลขเรย์โนลดส์มี ค่ามากที่สุดเท่ากับ 1127 ในกรณีความสูงของช่องระบายอากาศ 100 cm 1 ชั้น ฟลักซ์ความร้อน 1000 W/m2 ความสูงของช่องอากาศ 100 cm และความหนาผนังชั้นนอก 1 cmen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.titleการออกแบบผนังทรอมบ์โดยใช้คอนกรีตบล็อกen_US
dc.title.alternativeDesign of Trombe Wall using Concrete Blocken_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
article.volume15en_US
article.stream.affiliationsสาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsสาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsสาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.