Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64633
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สราวุฒิ ทองเจิม | en_US |
dc.contributor.author | อิสรา ธีระวัฒน์สกุล | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:17Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:17Z | - |
dc.date.issued | 2551 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-2178 | en_US |
dc.identifier.uri | http://e-faclib.lib.cmu.ac.th/e-faclib/data/eng/2009/4/23/6%CA%C3%D2%C7%D8%B2%D4.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64633 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | ในงานวิจัยนี้ศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ลูกชิ้นหมู โดยการใช้เทคนิคการออกแบบการทดลองแบบผสม (Mixture Design) เพื่อหาปริมาณส่วนผสมของลูกชิ้นหมูที่มีความเหมาะสม โดยปัจจัยที่ทําการศึกษา มี 3 ปัจจัย คือ เนื้อ หมู น้ําแข็ง และกลูเตน ได้สูตรการทดลองทั้งหมด 17 สูตร หลังจากนั้น ทําการทดสอบตัวอย่างด้วยวิธีการทดสอบทางด้าน ประสาทสัมผัส ด้วยการทดสอบความชอบแบบ 9 คะแนน โดยใช้ผู้ทดสอบชิม 50 คน สําหรับคุณลักษณะความชอบ โดยรวม รสเค็ม กลิ่นรสเนื้อหมู สีของลูกชิ้น และความเหนียวนุ่ม และทําการประเมินคุณลักษณะเนื้อสัมผัสของลูกชิ้นหมู โดยเครื่องวัดเนื้อสัมผัส ซึ่งค่าทดสอบที่ทําการวัดได้แก่ ค่า Hardness, Adhesiveness, Springiness, Cohesiveness, Gumminess และ Chewiness เมื่อทําการวิเคราะห์ผลทางด้านสถิติแล้ว พบว่า คุณลักษณะที่มีค่าทดสอบสอบแตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 (P < 0.05) ได้แก่ ความชอบโดยรวม รสเค็ม กลิ่นรสเนื้อหมู และความ เหนียวนุ่ม ซึ่งแสดงให้เห็นว่าในแต่ละคุณลักษณะนั้น มีผลต่อความยอมรับของผู้บริโภคที่มีต่อลูกชิ้นหมู จากการวิเคราะห์ หาค่าที่เหมาะสมของผลิตภัณฑ์ (Optimization) จะได้อัตราส่วนผสมของลูกชิ้นหมูที่เหมาะสม ประกอบด้วย เนื้อหมู น้ําแข็ง และกลูเตน เท่ากับร้อยละ 46.36, 32.58 และ 3.55 ตามลําดับ สุดท้ายต้นทุนการผลิตลูกชิ้นหมูหลังทําการพัฒนา เท่ากับ 43.19 บาทต่อกิโลกรัม | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.title | การพัฒนาผลิตภัณฑ์ลูกชิ้นหมู โดยใช้เทคนิค การออกแบบการทดลอง | en_US |
dc.title.alternative | Pork Balls Development by Using Experimental Design Technique | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
article.volume | 15 | en_US |
article.stream.affiliations | ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตรN มหาวิทยาลัยเชียงใหมj | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.