Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64574
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจัณฑิมา สันติสุขen_US
dc.contributor.authorเยาวนุช พรมนวลen_US
dc.contributor.authorอมรศรี ขุนอินทร์en_US
dc.contributor.authorพงศ์ระวี นิ่มน้อยen_US
dc.contributor.authorพรทิพย์ เรือนปานันท์en_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:14Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:14Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00140_C01113.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64574-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractการทดสอบแอกติโนไมซีทส์ที่แยกได้จากลำไส้ผึ้งมิ้มดำ (Apis andreniformis) จำนวน 33 ไอโซเลท ในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม Meloidogyne incognita ในระดับห้องปฏิบัติการพบว่าแอกติโนไมซีทส์จำนวน 11 ไอโซเลทมีความสามารถในการลดอัตราการฟักของไข่และเพิ่มอัตราการตายของตัวอ่อนระยะที่ 2 ซึ่งเป็นระยะเข้าทำลายของไส้เดือนฝอยรากปม M. incognita ไอโซเลท A038 ลดอัตราการฟักไข่ได้มากที่สุดถึงร้อยละ 92.04 และไอโซเลท A027 เพิ่มอัตราการตายของตัวอ่อนระยะที่ 2 มากที่สุดถึงร้อยละ 51.31 เมื่อเทียบกับชุดควบคุม จากนั้นนำเชื้อแอกติโนไมซีทส์ทั้ง 11 ไอโซเลท มาทดสอบผลของการฟักของไข่ในกลุ่มไข่ พบว่าแอกติโนไมซีทส์ไอโซเลท A032 และ A031 สามารถลดอัตราการฟักของกลุ่มไข่มากที่สุดถึงร้อยละ 69.51 และ 69.43 ตามลำดับ เมื่อนำเชื้อแอกติโนไมซีทส์ทั้ง 11 ไอโซเลทมาทดสอบการควบคุมโรครากปมของพริกในระดับโรงเรือนพบว่าเชื้อแอกติโนไมซีทส์ไอโซเลท A032 สามารถลดการเกิดปมของรากพริกสูงถึงร้อยละ 50 นอกจากนี้ยังทำให้น้ำหนักแห้งของพริกเพิ่มขึ้นอีกด้วยen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleประสิทธิภาพของแอกติโนไมซีทส์จากผึ้งมิ้มดำ (Apis andreniformis) ในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม Meloidogyne incognita สาเหตุโรครากปมพริกในสภาพโรงเรือนen_US
dc.title.alternativeEfficiency of Actinomycetes Isolated from Black Dwarf Honey Bee (Apis andreniformis) in Controlling Root - Knot Nematode, Meloidogyne incognita Causes Root Knot Disease of Chili in Greenhouseen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume34en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ. นครปฐม 73140en_US
article.stream.affiliationsโครงการจัดตั้งภาควิชาจุลชีววิทยา คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ.นครปฐม 73140en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.