Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64562
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุชน ตั้งทวีวิพัฒน์en_US
dc.contributor.authorปฏิวัติ ผายทองen_US
dc.contributor.authorบุญล้อม ชีวะอิสระกุลen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:13Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:13Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00139_C01092.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64562-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractใช้ไก่กระดูกดำสายพันธุ์โครงการหลวงอายุ 10 สัปดาห์ จำนวน 336 ตัว สุ่มแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 3 ซ้ำ ๆ ละ 28 ตัว (เพศผู้ 12 และเพศเมีย 16 ตัว) วางแผนการทดลองแบบ 2x2 factorial arrangement in CRD ให้ได้รับอาหารทดลองที่มี CP 2 ระดับ คือ 17 เทียบกับ 15% แต่ละระดับ CP มี ME 2 ระดับ คือ 3.2 เทียบกับ 2.9 kcal/g เลี้ยงเป็นเวลา 6 สัปดาห์ ผลปรากฏว่า ค่าสหสัมพันธ์ระหว่าง CP และ ME ไม่มีนัยสำคัญทำงสถิติ จึงพิจารณาแต่ละปัจจัย พบว่า การให้อาหารที่มีระดับ CP ต่างกัน ไม่ทำให้น้ำหนักตัวเพิ่ม ADG ปริมาณอาหารที่กิน FCR และอัตราการตายแตกต่างกัน (P>0.05) แต่การให้ ME ระดับต่ำทำให้ไก่กินอาหารมากขึ้น (2.72 vs. 2.60 กก.; P<0.01) ส่งผลให้น้ำหนักตัวเพิ่ม (0.61 vs. 0.58 กก.) และ ADG (14.58 vs. 13.56 ก.) ดีกว่ากลุ่มที่ได้รับ ME ระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) ส่วน FCR และอัตราการตาย ให้ผลไม่ต่างกัน (P>0.05) เมื่อพิจารณารายกลุ่ม พบว่า ไก่กลุ่มที่ 2 ซึ่งได้รับอาหารที่มี 17% CP, 2.9 kcal ME/g มีสมรรถภาพการผลิตดีกว่ากลุ่มที่ 1, 3 และ 4 อย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) คือ มีน้ำหนักตัวเพิ่ม 0.64 vs. 0.57, 0.56 และ 0.59 กก.; ADG 15.15 vs. 13.68, 13.44 และ 14.00 ก. และ FCR 4.34 vs. 4.51, 4.65 และ 4.57 รวมทั้งมีต้นทุนค่าอาหารต่อน้ำหนักเพิ่ม 1 กก. (FCG) ต่ำกว่าด้วย (50.74 vs. 58.41, 56.84 และ 50.91 บาท/กก. น้ำหนักเพิ่ม ตามลำดับ) ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากไก่กลุ่มดังกล่าวกินอาหารมากกว่า (65.63 vs. 61.58, 62.30 และ 63.97 ก./วัน ตามลำดับ; P<0.05) ทำให้ได้รับสารอาหาร เช่น โปรตีนมากกว่า (11.17 vs. 10.47, 9.36 และ 9.59 ก./วัน ตามลำดับ; P<0.05) สรุปได้ว่า สูตรอาหารที่เหมาะสมสำหรับไก่กระดูกดำโครงการหลวงช่วงอายุ 11-16 สัปดาห์ควรมี 17% CP, 2.9 kcal ME/gen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleระดับโปรตีนและพลังงานใช้ประโยชน์ที่เหมาะสมในสูตรอาหารไก่กระดูกดำสายพันธุ์โครงการหลวง ช่วงอายุ 11-16 สัปดาห์en_US
dc.title.alternativeOptimum Protein and Metabolizable Energy Levels in Royal Project Black-bone Chicken Diets During 11-16 Weeks of Ageen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume34en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.