Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64491
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ธรรมนูญ หัทยานันท์ | en_US |
dc.contributor.author | ชนากานต์ เทโบลต์ พรมอุทัย | en_US |
dc.contributor.author | ศันสนีย์ จาจด | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:10Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:10Z | - |
dc.date.issued | 2560 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-0842 | en_US |
dc.identifier.uri | http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00135_C01032.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64491 | - |
dc.description | วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) | en_US |
dc.description.abstract | ข้าวก่ำมีแอนโทไซยานิน ซึ่งเป็นสารประกอบสำคัญในการต้านอนุมูลอิสระสาเหตุของการเกิดโรคสำคัญต่าง ๆ ในปริมาณสูง โดยทั่วไปเป็นข้าวเหนียวและไวต่อช่วงแสงทำให้สามารถปลูกได้ปีละครั้งเดียว เพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณค่าทางโภชนาการของข้าวก่ำ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสายพันธุ์ข้าวเจ้าก่ำ ที่มีปริมาณแอนโทไซยานินในเมล็ดสูง และไม่ไวต่อช่วงแสง โดยนำเมล็ดจากประชากรลูกผสมชั่วที่ 4 ระหว่างข้าวเหนียวก่ำดอยสะเก็ดและข้าวเจ้าปทุมธานี 1 ที่มีลักษณะเยื่อหุ้มเมล็ดสีม่วงมาเป็นประชากรตั้งต้น ปลูกคัดเลือกชั่วที่ 5 ในฤดูนาปี 2556 แบบต้นต่อแถว บันทึกวันออกดอก ความสูง น้ำหนักต่อต้น สีเยื่อหุ้มเมล็ด และชนิดแป้ง คัดเลือกต้นที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีม่วง ปลูกคัดเลือกต่อในชั่วที่ 6 ในฤดูนาปรังปี พ.ศ. 2557 และคัดเลือกได้ต้นไม่ไวต่อช่วงแสง เป็นข้าวเจ้ามีเยื่อหุ้มเมล็ดลำต้นและใบสีม่วง ต้นเตี้ย และให้ผลผลิตสูงจำนวน 10 สายพันธุ์ ปลูกประเมินและคัดเลือกในชั่วที่ 7 พบว่าทั้ง 10 สายพันธุ์มีลักษณะไม่ไวต่อช่วงแสง มีอายุวันออกดอกอยู่ในช่วง 96-103 วัน มีต้นเตี้ยใกล้เคียงพันธุ์พ่อมีความสูงอยู่ในช่วง 79.7-83.2 เซนติเมตร และมีขนาดเมล็ดเรียวยาวใกล้เคียงกับพันธุ์พ่อ มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีม่วง เป็นชนิดข้าวเจ้า มีปริมาณแอนโทไซยานินอยู่ในช่วงระหว่าง 31.4-58.8 มิลลิกรัม/ 100 กรัม ซึ่งสูงกว่าพันธุ์แม่ร้อยละ 25-134 ซึ่งจะได้คัดเลือกพันธุ์ที่มีลักษณะเป็นข้าวเจ้าก่ำ ไม่ไวแสงและมีเมล็ดเรียว เพื่อพัฒนาสายพันธุ์ต่อไป | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.title | การคัดเลือกสายพันธุ์ก้าวหน้าพันธุ์ข้าวเจ้าก่ำไม่ไวต่อช่วงแสงและมีปริมาณแอนโทไซยานินในเมล็ดสูง | en_US |
dc.title.alternative | Selection for Photoperiod Insensitive Advanced Lines and High Grain Anthocyanin of Purple Glutinous Rice | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารเกษตร | en_US |
article.volume | 33 | en_US |
article.stream.affiliations | ภาควิชาพืชศาสตร์และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่ 50200 | en_US |
article.stream.affiliations | ศูนย์วิจัยข้าวล้านนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่ 50200 | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.