Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64442
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนาวิน สุขเลิศen_US
dc.contributor.authorจิราพร กุลสารินen_US
dc.contributor.authorไสว บรูณพานิชพันธุ์en_US
dc.contributor.authorวีรเทพ พงษ์ประเสริฐen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:07Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:07Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00133_C00999.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64442-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractการทดสอบประสิทธิภาพสารชีวภัณฑ์เชื้อรากาจัดแมลงในการควบคุมด้วงหมัดผักแถบลาย Phyllotreta striolata (Fabricius) ได้ดาเนินการทั้งในสภาพห้องปฏิบัติการ และแปลงปลูกภายใต้โรงเรือนของศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่โถ จังหวัดเชียงใหม่ สารชีวภัณฑ์เชื้อรากาจัดแมลง ประกอบด้วย เชื้อรา Metarhizium anisopliae ไอโซเลท 4849 เชื้อรา Beauveria bassiana ไอโซเลท 5335 เชื้อรา M. anisopliae ทางการค้า (เมทาซาน®) และเชื้อรา B. bassiana ทางการค้า (บูเวริน®) โดยศึกษาเปรียบเทียบกับสารเคมีฆ่าแมลง acetamiprid จากการทดสอบในห้องปฏิบัติการ โดยการพ่นสารชีวภัณฑ์เชื้อราไปบนตัวเต็มวัยของด้วงหมัดผักแถบลาย พบว่า หลังการพ่นสาร 7 วัน การตายของด้วงหมัดผักที่ได้รับเชื้อรา M. anisopliae ทางการค้า (เมทาซาน®) เชื้อรา M. anisopliae ไอโซเลท 4849 ความเข้มข้น 1x108 โคนิเดีย/มิลลิลิตร และเชื้อรา B. bassiana ทางการค้า (บูเวริน®) มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือร้อยละ 100 ส่วนเชื้อรา B. bassiana ไอโซเลท 5335 ที่ระดับความเข้มข้น 1x108 โคนิเดีย/มิลลิลิตร มีการตายเฉลี่ยน้อยที่สุดคือร้อยละ 85.72 ขณะที่การพ่นสารฆ่าแมลง acetamiprid ทาให้ด้วงหมัดผักแถบลายทั้งหมดตายหลังจากพ่น 2 วัน สาหรับการทดสอบประสิทธิภาพสาร ชีวภัณฑ์เชื้อราในแปลงปลูกเบบี้ฮ่องเต้ภายใต้โรงเรือน ที่พืชอายุ 22 วันหลังย้ายปลูกพบว่า เชื้อรา M. anisopliae ทางการค้า (เมทาซาน®) มีประสิทธิภาพสูงสุดในการควบคุมด้วงหมัดผักแถบลาย โดยมีค่าเฉลี่ยของแมลงที่พบเท่ากับ 0.51 ตัวต่อต้น ซึ่งไม่แตกต่างทางสถิติ (P<0.05) จากกรรมวิธีที่ใช้สารเคมีฆ่าแมลง acetamiprid (0.50 ตัวต่อต้น) นอกจากนี้ สารชีวภัณฑ์เชื้อราไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของเบบี้ฮ่องเต้ ได้แก่ ความสูง ความกว้างทรงพุ่ม และน้าหนักของผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleประสิทธิภาพของสารชีวภัณฑ์เชื้อรากาจัดแมลงในการควบคุมด้วงหมัดผักแถบลายในเบบี้ฮ่องเต้บนพื้นที่สูงของจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEfficacy of Fungal Bioinsecticides on Striped Flea Beetle Control in Baby Pak Choi in Highland of Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume32en_US
article.stream.affiliationsภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก 65000en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.