Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64383
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศิริมาศ ชัยชมen_US
dc.contributor.authorเกวลิน คุณาศักดากุลen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:05Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:05Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/content.asp?JID=125&CID=919en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64383-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractจากการวินิจฉัยโรคทางใบของสตรอว์เบอร์รี พบอาการใบจุดและอาการใบไหม้ มีเชื้อ Colletotrichum sp. และ เชื้อ Pestalotia sp. เป็นสาเหตุตามลำดับ และจากศึกษาเชื้อปฏิปักษ์ในกลุ่มแอคติโนไมซีสเอนโดไฟต์เพื่อควบคุมเชื้อราสาเหตุทั้ง 2 ชนิด โดยการแยกเชื้อจากพืชสมุนไพรและพืชวงศ์กุหลาบ (Rosaceae) บนอาหาร IMA-2 พบว่าสามารถแยกเชื้อได้จำนวน 102 ไอโซเลต เมื่อนำมาคัดเลือกเชื้อที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราสาเหตุโรคทางใบ ด้วยวิธี Dual Culture บนอาหาร IMA-2 พบ เชื้อจำนวน 6 ไอโซเลต คือ ERY2, MET4, POL4, DUC2, PRU2 และ ROS7 มีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อราสาเหตุโรคดังกล่าวได้ในระดับสูง โดยมีการยับยั้งมากกว่า 70เปอร์เซ็นต์ ไอโซเลต MET4 มีเปอร์เซ็นต์ยับยั้งเชื้อ Colletotrichum sp. มากที่สุดเท่ากับ 92.50 เปอร์เซ็นต์ และไอโซเลต PRU2 มีเปอร์เซ็นต์ยับยั้งเชื้อ Pestalotia sp. มากที่สุดเท่ากับ 87.50 เปอร์เซ็นต์ เมื่อนำเชื้อแอกติโนไมซีสเอนโดไฟต์ทั้ง 6 ไอโซเลต ที่คัดเลือกได้ไปทดสอบการเข้าอยู่อาศัยในเนื้อเยื่อของต้นกล้าสตรอว์เบอร์รีที่เพาะเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เพื่อชักนำให้เกิดการต้านทานต่อการเกิดโรคทางใบ โดยหยดเซลล์แขวนลอยของเชื้อแต่ละไอโซเลต ลงบริเวณโคนต้นกล้าสตรอว์เบอร์รีที่เพาะเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ และบ่มเชื้อไว้เป็นเวลา 14 วัน เมื่อนำชิ้นพืชมาทดสอบการเข้าอยู่อาศัยของเชื้อแต่ละไอโซเลตโดยวิธีแยกเชื้อกลับ พบว่า เชื้อ 6 ไอโซเลตดังกล่าวข้างต้น มีเปอร์เซ็นต์การแยกเชื้อกลับได้ เท่ากับ 96, 56, 70, 100, 100 และ 93 ตามลำดับ โดยส่วนใหญ่สามารถแยกเชื้อกลับได้จากส่วนใบของต้นกล้าสตรอว์เบอร์รีในทุกไอโซเลต และจากการทดสอบการชักนำให้เกิดความต้านทานโรคทางใบในสภาพปลอดเชื้อของต้นกล้าสตรอว์เบอร์รีที่ได้รับการปลูกเชื้อแอกติโนไมซีสเอนโดไฟต์แต่ละไอโซเลต เป็นเวลา 21 วัน พบว่า ต้นกล้าที่ได้รับการปลูกเชื้อแอกติโนไมซีสเอนโดไฟต์แต่ละไอโซเลตมีระดับความรุนแรงของโรค ระหว่าง 0.44-1.88 ซึ่งน้อยกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุมที่มีค่าระหว่าง 3.78-4.00 โดยไอโซเลต MET4 สามารถชักนำให้เกิดความต้านทานต่อการเข้าทำลายของเชื้อสาเหตุโรคทางใบทั้ง 2 ชนิดได้ดีที่สุดen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleการใช้เชื้อแอกติโนไมซีสเอนโดไฟต์ชักนำให้เกิดความต้านทานโรคทางใบของสตรอว์เบอร์รีด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อen_US
dc.title.alternativeUsing Endophytic Actinomycetes to Induce Leaf Disease Resistance of Strawberry by Tissue Culture Techniquesen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume30en_US
article.stream.affiliationsภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.