Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64361
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวีรยุทธ สร้อยนาคen_US
dc.contributor.authorวีรเทพ พงษ์ประเสริฐen_US
dc.contributor.authorไสว บูรณพานิชพันธุ์en_US
dc.contributor.authorสมชาย ธนสินชยกุลen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:04Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:04Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00120_C00899.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64361-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล (Nilaparvata lugens (Stål)) เป็นแมลงศัตรูข้าวที่มีความสำคัญที่สุดในเอเซีย สถานการณ์การระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลมีการเปลี่ยนแปลงและทวีความรุนแรงทุกปี เป็นผลจากความสามารถในการต้านทานต่อสารฆ่าแมลงของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล และความแปรปรวนของสภาพแวดล้อม ทำให้การประเมินประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงที่นิยมใช้ในการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลที่มีจำหน่ายในท้องตลาดเป็นสิ่งที่ต้องมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อปรับปรุงข้อมูลให้ทันต่อสถานการณ์ ดังนั้นจึงได้ดำเนินการศึกษาประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงที่นิยมใช้เพื่อควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทยจำนวน 8 ชนิด ประกอบด้วย คลอร์ไพริฟอส คาร์โบซัลแฟน คาร์โบฟูราน ฟิโปรนิล อิทิโพรล์ อะบาเม็กติน ไซเพอร์เมทริน และบูโพรเฟซิน กับเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลจากพื้นที่นาชลประทานในจังหวัดตาก นครสวรรค์ พิษณุโลก เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ สุโขทัย กำแพงเพชร และพิจิตรขึ้น ด้วยแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 5 ซ้ำ พบว่าประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงทั้ง 8 ชนิด มีความแตกต่างไปตามชนิดของสารฆ่าแมลง และกลุ่มประชากรของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล สารฆ่าแมลงที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในทุกพื้นที่ของภาคเหนือตอนล่าง และมีความปลอดภัยต่อสภาพแวดล้อม คือ คาร์โบซัลแฟน และบูโพรเฟซิน ขณะที่ สารฟิโปรนิล และอิทิโพรล์ มีประสิทธิภาพในการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลจากจังหวัดตาก นครสวรรค์ พิษณุโลก เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ และพิจิตร ด้วยen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงบางชนิดต่อเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeEfficacy of Some Insecticides on Brown Planthopper (Nilaparvata lugens (Stål)) in Lower Northern Thailanden_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume29en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000en_US
article.stream.affiliationsภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คระเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200en_US
article.stream.affiliationsสถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 298 ถ.มิตรภาพ ต.กลางดง อ.กลางดง อ.ปางช่อง จ.นครศรีธรรมราช 30320en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.