Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64356
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | จุฑาทิพย์ ทนันไชย | en_US |
dc.contributor.author | สงวนศักดิ์ ธนาพรพูนพงษ์ | en_US |
dc.contributor.author | สุชาดา เวียรศิลป์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:03Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:03Z | - |
dc.date.issued | 2556 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-0842 | en_US |
dc.identifier.uri | http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00119_C00894.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64356 | - |
dc.description | วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) | en_US |
dc.description.abstract | ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มปริมาณเอ็มบริโอเจนิกแคลลัสโดยการใช้ 2,4-D และไคเนติน โดยทำการทดลองที่ห้องเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ชั้น 2 อาคารเฉลิมพระเกียรติ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งวางแผนการทดลองแบบ completely randomized design (CRD) ทำการเพาะเลี้ยงเมล็ดข้าวบนอาหารสูตร LS ดัดแปลงที่ทำการเติม 2,4-D ที่ความเข้มข้น 0, 2, 4, 6 และ 8 มิลลิกรัมต่อลิตร หลังจากทำการเพาะเลี้ยง 30 วัน พบว่าอาหารสูตร LS ดัดแปลงที่เติม 2,4-D ในปริมาณ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถชักนำให้เกิดแคลลัสได้ 67.33 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเป็นชนิด ไฟรเอเบิล 90.73 เปอร์เซ็นต์ และเกิดแคลลัสสีเหลืองปนเขียว 85.79 เปอร์เซ็นต์ ได้มากเมื่อเทียบกับชุดควบคุม สำหรับแคลลัสที่ได้ยังไม่สามารถที่จะพัฒนาเป็นเอ็มบริออยด์ได้ จึงใช้ 2,4-D ในปริมาณ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับไคเนตินที่ระดับความเข้มข้น 2, 4, 6 และ 8 มิลลิกรัมต่อลิตร หลังจากทำการเพาะเลี้ยง 30 วัน พบว่าอาหารสูตร LS ดัดแปลงที่เติม 2,4-D 2 มิลลิกรัมต่อลิตร และไคเนติน 2 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถชักนำให้เกิดแคลลัสสูงถึง 69.00 เปอร์เซ็นต์ โดยเป็นชนิดไฟรเอเบิล 95.64 เปอร์เซ็นต์ เกิดแคลลัสสีเหลืองปนเขียว 89.44 เปอร์เซ็นต์ และยังสามารถที่จะพัฒนาเป็น เอ็มบริออยด์ได้มากขึ้นกว่าการใช้ 2,4-D หรือไคเนตินที่ทุกระดับความเข้มข้น โดยเปอร์เซ็นต์การเกิดแคลลัส ชนิดและสีของแคลลัส ขึ้นอยู่กับอัตราส่วนความเข้มข้นของ 2,4-D และไคเนตินที่เหมาะสม | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.title | ผลของ 2,4-D และไคเนตินต่อการเกิดเอ็มบริโอเจนิกแคลลัสในข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 | en_US |
dc.title.alternative | Effects of 2,4-D and Kinetin on Embryogenic Callus Induction in Rice (Oryza sativa L.) cv. Khao Dawk Mali 105 | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารเกษตร | en_US |
article.volume | 29 | en_US |
article.stream.affiliations | ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200 | en_US |
article.stream.affiliations | ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร สานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรุงเทพฯ 10900 | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.