Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64341
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุพร กิมขาวen_US
dc.contributor.authorวีรเทพ พงษ์ประเสริฐen_US
dc.contributor.authorไสว บูรณพานิชพันธุ์en_US
dc.contributor.authorจิราพร กุลสารินen_US
dc.contributor.authorเยาวลักษณ์ จันทร์บางen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:03Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:03Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00118_C00876.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64341-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ เพื่อประเมินปฏิกิริยาของข้าวสายพันธุ์ลูกผสมกลับระยะ BC4F3-4 (ราตูฮีเนติ/ขาวดอกมะลิ 105 x ชัยนาท 1) กับประชากรเพลี้ยกระโดดหลังขาว (Sogatella furcifera (Horvath)) (Hemiptera: Delphacidae) ในเขตพื้นที่นาภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย โดยทำการเก็บรวบรวมประชากรเพลี้ยกระโดดหลังขาวในเขตพื้นที่นาภาคเหนือตอนล่าง จาก 12 พื้นที่ ครอบคลุม 5 จังหวัด คือ กำแพงเพชร นครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก และ สุโขทัย ทำการทดสอบปฏิกิริยาของข้าวสายพันธุ์ลูกผสมกลับระยะ BC4F3-4 (ราตูฮีเนติ/ขาวดอกมะลิ 105 x ชัยนาท 1) จำนวน 77 สายพันธุ์ กับประชากรเพลี้ยกระโดดหลังขาวจากพื้นที่นาต่าง ๆ ข้างต้น ในสภาพโรงเรือนทดลองทำการปล่อยเพลี้ยกระโดดหลังขาววัยที่ 2 และ 3 จำนวน 8-10 ตัวต่อต้นเพื่อลงทำลายข้าวทดสอบในระยะกล้า และทำการประเมินผลความเสียหายที่ 14 วัน หลังปล่อยเพลี้ยกระโดดหลังขาว โดยใช้มาตรฐานระบบการประเมินความเสียหายสำหรับข้าวของสถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ (IRRI) และคัดเลือกข้าวสายพันธุ์ลูกผสมกลับระยะ BC4F3-4 ที่เหมาะสม พบว่า ข้าวสายพันธุ์ลูกผสมกลับระยะ BC4F3-4 ที่แสดงปฏิกิริยาต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดหลังขาวในพื้นที่ จังหวัดกำแพงเพชร นครสวรรค์ พิจิตร และสุโขทัย มีจำนวน 8, 11, 1 และ 1 สายพันธุ์ ตามลำดับ ส่วนในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกพบว่าทุกสายพันธุ์ไม่แสดงปฏิกิริยาต้านทานต่อการเข้าทำลายของเพลี้ยกระโดดหลังขาว สายพันธุ์ที่แสดงปฏิกิริยาต้านทานครอบคลุมประชากรเพลี้ยกระโดดหลังขาวจากแหล่งต่าง ๆ สูงสุดทั้ง 4 จังหวัด คือ R4-3-2-130-9-40, R4-13-1-144-27-84, R4-4-2-134-18-68 และ R4-13-1-144-27-79 นอกจากนี้พบข้าวลูกผสมกลับ BC4F3-4 จำนวน 4 สายพันธุ์ คือ R4-3-2-130-9-35, R4-3-2-130-9-39, R4-4-2-134-18-55 และ R8-24-1-183-84-227 มีแนวโน้มต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดหลังขาวได้ดีen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleปฏิกิริยาของข้าวสายพันธุ์ลูกผสมกลับ BC4F3-4 (ราตูฮีเนติ/ขาวดอกมะลิ 105 X ชัยนาท 1) ต่อเพลี้ยกระโดดหลังขาวในภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeReactions of BC4F3-4 Rice Lines (Rathu Heenati/KDML105 X Chai Nat 1) on White-backed Planthopper in Lower Northern Thailanden_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume29en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000en_US
article.stream.affiliationsภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.