Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64315
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorขนิษฐา เสถียรพีระกุลen_US
dc.contributor.authorสุนทร คำยองen_US
dc.contributor.authorนิวัติ อนงค์รักษ์en_US
dc.contributor.authorเกรียงศักดิ์ ศรีเงินยวงen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:01Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:01Z-
dc.date.issued2555en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00116_C00860.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64315-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractประเมินมูลค่าคาร์บอนและธาตุอาหารสะสมในดินป่าดิบเขา ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ในแปลงสุ่มตัวอย่างแบบถาวร ขนาด 15 เฮกตาร์ (1,700 ม. ร.ท.ก.) โดยใช้แปลงสุ่มตัวอย่าง จำนวน 3 แปลง ขนาด 50 x 50 ตร.ม. วางกระจายตามพื้นที่ลาดเท ขุดหลุมดินลึกถึง 200 ซม. 3 หลุม เก็บตัวอย่างดินตามความลึก 13 ระดับ คือ 0-5, 5-10, 10-20, 20-30, 30-40, 40-60, 60-80, 80-100, 100-120, 120-140, 140-160, 160-180 และ 180-200 ซม. เพื่อวิเคราะห์สมบัติทางกายภาพและเคมีของดินในห้องปฏิบัติการ และประยุกต์ใช้วิธีการตีมูลค่าทางการตลาดและต้นทุนที่ต้องจ่ายเพื่อฟื้นฟูคืนสภาพเดิม ในการประเมินมูลค่าของธาตุอาหารที่สะสมในชั้นดิน พบว่า เนื้อดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทราย ในดินชั้นบนมีความหนาแน่นรวมของดินต่ำ ค่าปฏิกิริยาของดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดรุนแรงมาก อินทรียวัตถุและคาร์บอนมีค่าสูงมาก ไนโตรเจนทั้งหมดมีค่าปานกลางถึงสูงในดินชั้นบน โพแทสเซียมที่สกัดได้มีสูงมากตลอดชั้นดิน ขณะที่ฟอสฟอรัส แคลเซียม แมกนีเซียมและโซเดียมมีค่าต่ำถึงต่ำมาก ปริมาณการสะสมของอินทรียวัตถุ คาร์บอนและไนโตรเจนในดินชั้นบนมากและลดลงในชั้นดินที่อยู่ลึกลงไป มูลค่าของการสะสมคาร์บอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกเนเซียม และโซเดียม เท่ากับ 170.73, 7,962.31, 1,197.25, 48,531.97, 3,286.77, 787.84 และ 744.31 บาทต่อเฮกตาร์ ตามลำดับ คิดเป็นมูลค่ารวม เท่ากับ 62,681 บาทต่อเฮกตาร์en_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleการประเมินมูลค่าคาร์บอนและธาตุอาหารสะสมในดินป่าดิบเขาบริเวณดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEvaluation of Accumulated Carbon and Nutrients in Montane Forest Soils at Doi Inthanon, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume28en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200en_US
article.stream.affiliationsคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ.เชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.