Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64307
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สาโรจน์ วัฒนสุขสกุล | en_US |
dc.contributor.author | สุนทร คำยอง | en_US |
dc.contributor.author | นิวัติ อนงค์รักษ์ | en_US |
dc.contributor.author | เกรียงศักดิ์ ศรีเงินยวง | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:01Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:01Z | - |
dc.date.issued | 2555 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-0842 | en_US |
dc.identifier.uri | http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00115_C00845.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64307 | - |
dc.description | วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) | en_US |
dc.description.abstract | ศึกษาผลกระทบของไฟป่าต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ-เคมีและปริมาณธาตุอาหารสะสมในดินป่าเต็งรัง บริเวณสถานีวนวัฒนวิจัยอินทขิล จ. เชียงใหม่ เปรียบเทียบระหว่างป่าที่มีไฟป่าและไม่มีไฟป่าเป็นระยะเวลาอย่างน้อยสิบปี เพื่อเป็นข้อมูลในการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเต็งรัง โดยดำเนินการขุดหลุมดินกว้าง 150 ซม. ลึก 200 ซม. ป่าละ 2 หลุม เก็บตัวอย่างดินตามความลึกเพื่อวิเคราะห์สมบัติทางกายภาพและเคมี พบว่า ดินชั้นบนในป่าที่มีไฟป่าเป็นดินทรายปนร่วนและป่าที่ไม่มีไฟป่าเป็นดินร่วนปนทราย ค่าเฉลี่ยตัวแปรอื่นๆ ในดินชั้นบนสุดของป่าที่มีและไม่มีไฟป่าแตกต่างกันเล็กน้อยดังนี้ ความหนาแน่นรวม เท่ากับ 1.26, 1.11 Mg m-3 pH: 5.1, 5.5 (กรดจัด) อินทรียวัตถุ: 25.0, 32.1 g kg-1 คาร์บอน: 14.5, 18.6 g kg-1 ไนโตรเจน: 0.8, 1.2 g kg-1 ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์: 13.6, 34.9 mg kg-1 โพแทสเซียมที่สกัดได้: 282.8, 359.8 mg kg-1 แคลเซียม: 385.2, 621.9 mg kg-1 แมกนีเซียม: 154.7, 271.5 mg kg-1 และโซเดียม: 10.6, 18.9 mg kg-1 ตามลำดับ ป่าที่มีไฟป่ามีปริมาณอินทรียวัตถุ คาร์บอนและไนโตรเจนทั้งหมดในดินลึก 200 ซม. เฉลี่ย 124, 72 และ 7.9 Mg ha-1 ตามลำดับ ในขณะที่ป่าที่ไม่มีไฟป่ามีปริมาณสูงกว่า (212, 123 และ 8.0 Mg ha-1) ป่าที่มีไฟป่ามีปริมาณที่สกัดได้ของฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียมและโซเดียมในดินเฉลี่ย 50; 6,421; 3,827; 2,912 และ 493 kg ha-1 ตามลำดับ ส่วนป่าที่ไม่มีไฟป่ามีค่า 156; 6,227; 4,287; 3,921 และ 412 kg ha-1 ตามลำดับ | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.title | ผลกระทบของไฟป่าต่อสมบัติทางกายภาพ-เคมีและการสะสมธาตุอาหารในดินป่าเต็งรัง สถานีวนวัฒนวิจัยอินทขิล จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Impacts of Forest Fire on Soil Physico-chemical Properties and Nutrient Storages in Dry Dipterocarp Forest, In Takin Silvicultural Research Station,Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารเกษตร | en_US |
article.volume | 28 | en_US |
article.stream.affiliations | ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200 | en_US |
article.stream.affiliations | คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ.เชียงใหม่ | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.