Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48623
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนียา เจติยานุกรกุล-
dc.contributor.advisorวรลัญจก์ บุณยสุรัตน์-
dc.contributor.authorสไบทิพย์ ตั้งใจen_US
dc.date.accessioned2018-05-03T02:06:28Z-
dc.date.available2018-05-03T02:06:28Z-
dc.date.issued2558-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48623-
dc.description.abstractThe patterns and embroidery on the costumes of Hmong Ethnic group are the fantastic handicrafts and valuable local wisdom. Nowadays, the patterns and techniques of embroidery have been changed a lot. This study was conducted in the community of Ban Pha Nok Kok Pong Yaeng District, Chiang Mai Province. The purpose of this independent studying was to study the history, social and culture characteristics, the patterns and embroidery on the costumes and the problems of the patterns and embroidery on the costumes of Hmong Ethnic group at Ban Pha Nok Kok, Pong Yaeng District, Chiang Mai Province for proposing the conservation and heritage of patterns and embroidery Hmong ethnic group of Ban Pha Nok Kok with community involvement. The ways of studying were documents and field studies by surveying the physical observations, interviewing for searching information about the patterns and embroidery on the costumes of Hmong Ethnic group and focus group discussion for proposing the conservation and heritage of patterns and embroidery Hmong ethnic group of Ban Pha Nok Kok with community involvement from public and academic sectors. The results of the study were Hmong ethnic group of Ban Pha Nok Kok dress the full tribal costumes less than the past because lifestyles of ethnic Hmong have changed in nowadays. The patterns and embroidery on the costumes of Hmong Ethnic group have been changed a lot because the heritage embroidery for the youth is less than before. The patterns and embroidery are less valuable to be easy patterns. The industrial embroidery replace handicraft. This study guides to the conservation and heritage of patterns and embroidery Hmong ethnic group of Ban Pha Nok Kok with community involvement by management Hmong people learning and understanding the value of patterns and embroidery from learning center and exhibition of Hmong ethnic group which are the researches that people can search, learn and study. The community of Hmong Ban Pha Nok Kok, the official government and the local government should participate and support themen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการจัดการอนุรักษ์และสืบสานศิลปะen_US
dc.subjectผ้าปักen_US
dc.subjectกลุ่มชาติพันธุ์ม้งen_US
dc.titleการจัดการอนุรักษ์และสืบสานศิลปะผ้าปักของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง บ้านผานกกก ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeConservation and Inheritance Management of Hmong Ethnic Group Embroidery Arts, Ban Pha Nok Kok, Pong Yaeng Sub-district, Mae Rim District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc746.44-
thailis.controlvocab.thashผ้า -- แม่ริม (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashการประดิษฐ์ด้วยเข็ม-
thailis.controlvocab.thashการปักไขว้-
thailis.controlvocab.thashการเย็บปักถักร้อย-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 746.44 ส954ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractเครื่องแต่งกายและลวดลายผ้าปักของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง เป็นงานศิลปหัตถกรรมที่มีความงามและคุณค่าสะท้อนภูมิปัญญาพื้นถิ่น ปัจจุบันเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นอันมาก โดยเฉพาะลวดลายผ้าปัก ทั้งรูปแบบของลวดลายและเทคนิคการปัก ในการศึกษาครั้งนี้ได้ทำการศึกษาที่ชุมชนบ้านผานกกก ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนศึกษาเครื่องแต่งกาย ผ้าปักและลวดลายผ้าปักบนเครื่องแต่งกายกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง ตลอดจนปัญหาของผ้าปักและลวดลายผ้าปักกลุ่มชาติพันธุ์ม้งของบ้านผานกกก ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเสนอแนวทางการอนุรักษ์และสืบสานผ้าปักและลวดลายผ้าปักกลุ่มชาติพันธุ์ม้งของบ้านผานกกก อย่างมีส่วนร่วมของชุมชน ใช้วิธีการศึกษาทั้งภาคเอกสารและภาคสนาม ด้วยวิธีการสำรวจ สังเกตการณ์ สัมภาษณ์ เพื่อเก็บข้อมูลของชุมชนและเครื่องแต่งกายและลวดลายผ้าปักของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง รวมทั้งสนทนากลุ่ม เพื่อเก็บข้อมูลความคิดเห็นและข้อเสนอแนะภาคประชาชนและนักวิชาการ เพื่อเสนอแนวทางการอนุรักษ์และสืบสานผ้าปักและลวดลายผ้าปักกลุ่มชาติพันธุ์ม้งของบ้านผานกกก อย่างมีส่วนร่วมของชุมชน ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มชาติพันธุ์ม้งบ้านผานกกก ปัจจุบันมีการแต่งกายด้วยชุดประจำเผ่าในการดำเนินชีวิตประจำวันน้อยลง เนื่องจากวิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงไป ผ้าปักและลวดลายผ้าปักของม้งได้เปลี่ยนแปลงไปมาก เนื่องจากมีการถ่ายทอดการปักผ้าแก่เยาวชนน้อยลงและลวดลายผ้าปักถูกลดคุณค่า เหลือแต่ลวดลายง่ายๆ ขณะเดียวกันได้ปรากฏผ้าปักด้วยจักรอุตสาหกรรมเข้ามาแทนที่การปักด้วยมือมากขึ้น การศึกษาครั้งนี้ได้เสนอแนวทางของการอนุรักษ์และสืบสานผ้าปักและลวดลายผ้าปักกลุ่มชาติพันธุ์ม้งของบ้านผานกกก อย่างมีส่วนร่วมของชุมชน ด้วยการจัดการให้เกิดการเรียนรู้และเข้าใจในคุณค่าของผ้าปักและลวดลายผ้าปักกลุ่มชาติพันธุ์ม้งขึ้นในชุมชน ในรูปแบบของศูนย์การเรียนรู้และนิทรรศการ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ของคนทั้งภายในและภายนอกชุมชนเข้าไปสืบค้น เรียนรู้ ศึกษาได้ ในการดำเนินการกิจกรรมดังกล่าวนี้ ควรเป็นความร่วมมือของภาคประชาสังคม ซึ่งประกอบด้วยประชาชนในชุมชน หน่วยงานภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ามามีส่วนสนับสนุนen_US
Appears in Collections:GRAD-Humanities and Social Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)181.42 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract 200.32 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS15.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.