Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48621
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรทิพย์ เธียรธีรวิทย์-
dc.contributor.advisorเศกสิน ศรีวัฒนานุกูลกิจ-
dc.contributor.authorภรภัทร อยู่เย็นen_US
dc.date.accessioned2018-05-03T02:03:12Z-
dc.date.available2018-05-03T02:03:12Z-
dc.date.issued2558-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48621-
dc.description.abstractThis study had the objectives of determining the working conditions, work happiness and problems of the employees of Omnoi Municipality by distributing a questionnaire to a sample group of 240 people: 65 government officials and 175 employees of the municipality and analyzing the data using descriptive statistics and using the Likert Scale to assess their work happiness and relevant problems. The findings showed that most of the government officials at Omnoi Municipality were female, married, 38 years of age on average, holding a Bachelor’s Degree, and having a monthly salary of 10,001- 20,000 Baht, and that they worked for the municipality for around 6 years in the education section. The first rank in terms of happiness was in working, mainly a good relationship with their colleagues and in work safety, followed by the economic aspect, mainly reasonable remuneration for the workload and a small amount debt without affecting their monthly income. The sample group had a moderate level of problems also, in such areas as the section had suffered too much of a workload, inadequate personnel, and the payment and welfare was not suitable to the amount of work. The employee group consisted mostly of males, married, 36 years old on average with a bachelor’s degree and monthly salary of 10,001-20,000 Baht, and they had worked for the municipality for about 5 years in the education section. Their work happiness was at a moderate level. The number one happiness for work resulted from good relationship with their colleagues and engaging in activities with them, followed by the health aspects in terms of no personal health problems or work-related health problems or problems with drinking and smoking. The sample group had a low level of work problems in such areas as too heavy a workload or inadequate personnel to cope with the amount of work.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความสุขในการทำงานen_US
dc.subjectข้าราชการen_US
dc.subjectลูกจ้างen_US
dc.subjectเทศบาลนครอ้อมน้อยen_US
dc.titleความสุขในการทำงานของข้าราชการและลูกจ้างสังกัดเทศบาลนครอ้อมน้อย อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาครen_US
dc.title.alternativeWork Happiness of Officers and Employees in Omnoi Municipality, Krathumban District, Samut Sakhon Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.classification.ddc658.31422-
thailis.controlvocab.thashความพอใจในการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashความสุข-
thailis.controlvocab.thashการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น-
thailis.manuscript.callnumberว 658.31422 ภ176ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการทำงาน ระดับความสุขในการทำงาน ตลอดจนปัญหาที่เกิดขึ้นจากการทำงานของข้าราชการและลูกจ้างสังกัดเทศบาลนครอ้อมน้อย โดยทำการสอบถามกลุ่มตัวอย่างที่เป็นข้าราชการและลูกจ้างสังกัดเทศบาลนครอ้อมน้อย จำนวน 240 คน ซึ่งประกอบด้วยข้าราชการ จำนวน 65 คน และลูกจ้าง จำนวน 175 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ส่วนการวัดระดับความสุข และปัญหาที่เกิดจากการทำงานใช้ ลิเคิร์ท สเกล ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างข้าราชการสังกัดเทศบาลนครอ้อมน้อย ส่วนใหญ่เป็นหญิง สมรสแล้ว มีอายุเฉลี่ย 38 ปี จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001 – 20,000 บาท มีระยะเวลาการทำงานกับเทศบาลนครอ้อมน้อยเฉลี่ย 6 ปี มีตำแหน่งงานเป็นผู้ปฏิบัติงานด้านการศึกษา กลุ่มตัวอย่างมีความสุขในการทำงานโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีความสุขอันดับ 1 คือ ด้านการทำงาน ได้แก่ การมีความสัมพันธ์อันดีกับเพื่อนร่วมงาน และการมีความปลอดภัยในการทำงาน รองลงมาคือ ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ การได้รับค่าตอบแทนเหมาะสมกับปริมาณงาน และภาระหนี้สินไม่กระทบต่อรายได้ประจำในแต่ละเดือน กลุ่มตัวอย่างมีปัญหาในการทำงานระดับปานกลาง เช่น หน่วยงานมีภาระงานมากจนเกินไป มีบุคลากรไม่เพียงพอกับปริมาณงาน รวมถึงรายได้และสวัสดิการไม่เหมาะสมกับปริมาณงาน กลุ่มตัวอย่างลูกจ้างสังกัดเทศบาลนครอ้อมน้อย ส่วนใหญ่เป็นหญิง สมรสแล้ว มีอายุเฉลี่ย 36 ปี จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001 – 20,000 บาท มีระยะเวลาการทำงานกับเทศบาลนครอ้อมน้อยเฉลี่ย 5 ปี มีตำแหน่งงานเป็นผู้ปฏิบัติงานด้านการศึกษา กลุ่มตัวอย่างมีความสุขในการทำงานโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีความสุขอันดับ 1 คือ ด้านการทำงาน ได้แก่ การมีความสัมพันธ์อันดีกับเพื่อนร่วมงาน และการมีกิจกรรมร่วมกันกับเพื่อนร่วมงาน รองลงมาคือ ด้านสุขภาพอนามัย ได้แก่ การไม่มีโรคประจำตัวหรือโรคที่เกิดจากการทำงาน และ การไม่ดื่มสุราและยาสูบ กลุ่มตัวอย่างมีปัญหาในการทำงานระดับน้อย เช่น รายได้และสวัสดิการไม่เหมาะสมกับปริมาณงาน หน่วยงานมีภาระงานมากเกินไป รวมถึงหน่วยงานมีบุคลากรไม่เพียงพอกับปริมาณงานen_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)180.7 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract 247.09 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS2.9 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.