Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48574
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิจักษณ์ ศรีสัจจะเลิศวาจา-
dc.contributor.authorธนนท์ เหล็กชายen_US
dc.date.accessioned2018-04-30T06:16:13Z-
dc.date.available2018-04-30T06:16:13Z-
dc.date.issued2558-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48574-
dc.description.abstractIn order to allocate the exam room, the expertise in analyzing the set up condition must be required and must be processed in every kind of exam room in every semester. For a productive and less time consumption result, the allocate of exam room computer system must be developed for reducing the number of exam room‘s usage. This independent study will applied the greedy algorithm to demonstrate the solution of choosing the room for the exam and allocated the exam room for more productive process. The process is as follows: Firstly, monitoring the date of the exam in the academic year and semester which needs. Next, searching for a date and period of the exam in each course which was presented in each day. In addition, the greedy algorithm would be applied for the searching time process to avoid the overlap period. When overlap period is not occurred, the available exam time would be searched with the present course and continually allocated the available exam room and assistances accordingly. In developed computer program would use Microsoft Access version 2010 in developed to enhance the process for more effective and more convenience for exam room’s assistances. Moreover, the result of using the system can reduce the use of exam room and prevented the overlap exam period. The method to measure and monitor the accuracy of the allocate exam room would evaluate from the comparison of the number of rooms and the number of courses that cannot be allocated the exam room from assistances.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการจัดสรรห้องสอบอัตโนมัติen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยพายัพen_US
dc.subjectวิธีละโมบen_US
dc.titleการพัฒนาระบบการจัดสรรห้องสอบอัตโนมัติสำหรับมหาวิทยาลัยพายัพ โดยใช้ขั้นตอนวิธีละโมบen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Automatic Examination Room Allocation System for Payap University Based on Greedy Algorithmen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.4038-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยพายัพ (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ-
thailis.controlvocab.thashห้องสอบ -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 658.4038 ธ155ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการจัดสรรห้องสอบนั้น จำเป็นต้องอาศัยความชำนาญในการวิเคราะห์เงื่อนไขที่ถูกกำหนดขึ้น และต้องมีการจัดสรรห้องสอบทุกประเภทของการสอบ ในทุกๆ ภาคการศึกษา และเพื่อให้การจัดสรรห้องมีประสิทธิภาพ และมีความรวดเร็ว จึงได้มีการพัฒนาระบบการจัดสรรห้องสอบขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การใช้ห้องสำหรับการสอบน้อยที่สุด โดยในการค้นคว้าแบบอิสระนี้ ได้นำเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเลือกห้องเพื่อนำไปจัดสรรห้องสอบ คือ การใช้ขั้นตอนวิธีเชิงละโมบเข้ามาประยุกต์ใช้กับขั้นตอนของการจัดสรรห้องสอบ ซึ่งมีกระบวนการดังนี้คือ จะเริ่มจากการตรวจสอบวันของประเภทการสอบในปีการศึกษาและภาคการศึกษาที่ต้องการ โดยเมื่อค้นหาวันที่ในการสอบแล้ว จะดำเนินการค้นหาช่วงเวลาที่จะสอบของแต่ละรายวิชาที่มีการสอบในแต่ละวัน และในกระบวนการค้นหาช่วงเวลานี้จะมีการนำขั้นตอนวิธีเชิงละโมบเข้ามาประยุกต์ใช้เพื่อการค้นหาและปรับไม่ให้เกิดช่วงเวลาที่มีการเหลื่อมซ้อนทับกันขึ้น และเมื่อได้ช่วงเวลาที่ไม่ซ้อนทับกันแล้ว จะนำแต่ละช่วงเวลาไปค้นหาวิชาที่ต้องจัดสรรห้องสอบและผู้คุมสอบต่อไป ซึ่งจากแนวทางในการจัดสรรห้องสอบนี้ ได้นำมาพัฒนาเป็นระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยใช้ซอฟต์แวร์ไมโครซอฟท์ แอคเซส รุ่น 2010 ในการพัฒนา เพื่อความสะดวกสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้จัดสรรห้อง และกระบวนการวัดและตรวจสอบความถูกต้องของกระบวนการจัดสรรห้องสอบนั้นใช้วิธีการเปรียบเทียบจำนวนห้อง และจำนวนวิชาที่ไม่สามารถจัดสรรห้องจากการจัดด้วยเจ้าหน้าที่ ซึ่งผลของการพัฒนาระบบ พบว่าสามารถจัดสรรห้องสอบได้โดยใช้ห้องสอบน้อยที่สุดและแก้ไขปัญหาช่วงเวลาที่มีการเหลื่อมซ้อนทับกันและได้ห้องสอบที่ไม่ซ้ำกันกับอีกช่วงเวลาหนึ่งen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)186.08 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract116.98 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS3.54 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.