Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46115
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ญประภา ศิวิโรจน์-
dc.contributor.authorนิรันดร์ สุวรรณ์en_US
dc.date.accessioned2018-04-17T09:06:42Z-
dc.date.available2018-04-17T09:06:42Z-
dc.date.issued2558-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46115-
dc.description.abstractThe study aimed to compare the behavior of hypertension patients using medications that can control blood pressure and cannot control blood pressure and factors associated to control blood pressure in Kongkhaek health promotion hospital Maechaem district, Chiang Mai province. The subject was 117 participants. The study tools used the record of Out Patient Department card and questionnaires. Data was corrected between January to February 2015. Data analyzed using descriptive statistics. The results were summarized as follows: All controlled hypertensive patients prescribed medication on doctor recommendation and did not buy anti-hypertensive drugs from the drugstore (100%). Followed by non- stop taking medication when blood pressure decreased (92%), never borrowed medications from other patients or family member (86%), not taking other drugs or supplements (84%), and taking medication immediately after recalled of forgetfulness in the same dose (76%) respectively. While uncontrolled hypertensive patients were (86%) of taking anti-hypertensive drugs from the other and family member, (28.36%) of the patients have taken the other kind of drugs and the dietary supplements and (11.94%) of the patients have stopped taking medication after blood pressure reduction. The related factors in the controlled hypertensive patients was found most of male patients had a waist circumference of less than 90 cm (90%) and nearly half of female hypertensive patients with waist circumference less than 80 cm (46.00%), more than half of patients had co-morbid (56%), non-smoker (57.14%). While most of patients whom did not drink alcohol (76.19%). For those who drank found that most of them never drank alcohol with a meal (50%), with the addition of intergradient before use infrequently (64%), one in three had a light exercise by regularly (34%). Patients had no trouble sleeping with (40%). Most patients had no symptoms, irritability/ anxiety (68%), not feel sick or bore (92%). The related factors in the uncontrolled patients were male patients a waist circumference of less than 90 cm (21.74%) and more than half of female patients with waist circumference of less than 80 cm (56.82%), smoking (100%), alcoholic drinking in the last 12 months (100%), alcoholic drinking in the last 30 days (75%), ate salty food every meals (43.28%), ate food seasoning (62.69%), non-exercise behavior (58.21%), having sleep problem (26.87%), and irritability/ anxiety and unstable mind (29.85%).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพฤติกรรมการใช้ยาen_US
dc.subjectผู้ป่วยภาวะความดันโลหิตสูงen_US
dc.subjectความดันโลหิตสูงen_US
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.titleพฤติกรรมการใช้ยาและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของผู้ป่วยภาวะความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลกองแขก อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDrug Use Behaviors and Related Factors of Hypertensive Patients in Kongkhaek Health Promotion Hospital, Mae Chaem District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc616.132-
thailis.controlvocab.thashโรงพยาบาล -- แม่แจ่ม (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashความดันเลือดสูง-
thailis.controlvocab.thashความดันเลือดสูง -- ผู้ป่วย -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 616.132 น3711พ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้ยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้และควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ และศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กับการควบคุมความดันโลหิตของผู้ป่วยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกองแขก อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 117 คน ทำการรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบบันทึกการตรวจร่างกายผู้ป่วย และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ทั้งหมดรับประทานยาความดันโลหิตตามแพทย์สั่ง และไม่ซื้อยารักษาความดันโลหิตจากร้านขายยา (ร้อยละ 100.00) รองลงมาได้แก่ การไม่หยุดรับประทานยาเมื่อความดันโลหิตลดลง (ร้อยละ 92.00) การไม่ยืมยารักษาความดันโลหิตของผู้ป่วยรายอื่นหรือคนในครอบครัว (ร้อยละ 86.00) การไม่รับประทานยาชนิดอื่นๆ หรืออาหารเสริม (ร้อยละ 84.00) และหากลืมรับประทานยาลดความดันโลหิตจะรับประทานยาทันทีที่นึกได้ในจำนวนเดิม (ร้อยละ 76.00) ในขณะที่ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้มีพฤติกรรมการใช้ยา ที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ การรับประทานยาชนิดอื่นๆ หรืออาหารเสริม (ร้อยละ 28.36) การยืมยารักษาความดันโลหิตของผู้ป่วยรายอื่นหรือคนในครอบครัว (ร้อยละ 20.90) และหยุดรับประทานยาเมื่อความดันโลหิตลดลง (ร้อยละ 11.94) สำหรับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมระดับความดันโลหิตพบว่า ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชายที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ส่วนใหญ่มีรอบเอวน้อยกว่า 90 เซนติเมตร (ร้อยละ 90.00) และผู้ป่วยหญิงมีรอบเอวน้อยกว่า 80 เซนติเมตรเพียง (ร้อยละ 46.00) ผู้ป่วยกว่าครึ่งหนึ่งไม่มีโรคร่วม (ร้อยละ 56.00) และ เป็นผู้ที่ไม่เคยใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบ (ร้อยละ 57.14) ในขณะที่ส่วนใหญ่เป็นผู้ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (ร้อยละ 76.19) สำหรับผู้ที่เคยดื่มแอลกอฮอล์พบว่า ส่วนใหญ่ไม่เคยดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในช่วง 30 วันที่ผ่านมา (ร้อยละ 60.00) ครึ่งหนึ่งไม่เคยดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์พร้อมกับการรับประทานอาหาร (ร้อยละ 50.00) มีการเติมเครื่องปรุงก่อนบริโภคนานๆ ครั้ง (ร้อยละ 64.00) ประมาณ 1 ใน 3 มีการออกกำลังกายระดับเบาโดยปฏิบัติบ่อยๆ (ร้อยละ 34.00) ในด้านความเครียดพบว่า ผู้ป่วยไม่มีปัญหาในการนอน (ร้อยละ 40.00) ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่มีอาการหงุดหงิด/กระวนกระวาย (ร้อยละ 68.00) และไม่มีความรู้สึกเบื่อเซ็ง (ร้อยละ 92.00) ในขณะที่ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ในชาย มีรอบเอวมากกว่าหรือเท่ากับ 90 เซนติเมตร (ร้อยละ 21.74) และกว่าครึ่งหนึ่งในผู้ป่วยหญิงมีรอบเอวมากกว่าหรือเท่ากับ 80 เซนติเมตร (ร้อยละ 56.82) มีการสูบบุหรี่ (ร้อยละ 100.00) 12 เดือนที่ผ่านมามีการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (ร้อยละ 100.00) ดื่มแอลกอฮอล์ 30 วันที่ผ่านมา (ร้อยละ 75.00) รับประทานอาหารรสเค็ม (ร้อยละ 43.28) ปรุงรสด้วยเครื่องปรุงเป็นประจำ (ร้อยละ 62.69) ไม่มีการออกกำลังกายระดับหนัก (ร้อยละ 58.21) มีปัญหาการนอน (ร้อยละ 26.87) และมีอาการหงุดหงิด/กระวนกระวาย (ร้อยละ 29.85)en_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)53.75 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract170.34 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.