Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46079
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพร โรจน์อารยานนท์-
dc.contributor.authorเจนใจ สุธีพรวิโรจน์en_US
dc.date.accessioned2018-04-10T06:56:36Z-
dc.date.available2018-04-10T06:56:36Z-
dc.date.issued2558-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46079-
dc.description.abstractPlants in family Apocynaceae, such as Plumeria sp., Adenium sp., Alstonia sp., Catharanthus sp. and Allamanda sp. are very famous as a household trees. The dominant feature of these plants were white latex which were in all parts of the trees but they have different features depending on their parts such as size, flower and leave. DNA relationship among some plants in family Apocynaceae was studied by RAPD technique. The efficiency of forty primers experimental found that the proper primer for making DNA fingerprint was nine primers which were O-01, O-18, OPB-07, OPB-08, OPD-20, OPW-09, R-37, R-55 and R-105. They produce 276 polymorphic DNA bands. The analysis of DNA fingerprint data was found that the relationship of DNA by using 3.2 phylic program and Tree Veiw 1.6.6. The result could be grouped by unweighted pair group method with arithmetic average (UPGMA) in five groups consisted of group 1 includes; Plumeria obtuse Linn., P. pudica Jacq., P. rubra L., Odontadenia macrantha (Roem. & Schult') Markgr., Kopsia fruticosa (Kerr) A. DC.), Carissa carandas L., Beaumontia grandiflora Wall., Cerbera odollam Gaertn., Dyera costulata (Miq.) Hook. f. Group 2 includes; Catharanthus roseus (L.) Don, Tabernaemontana pandacaqui Lam., Wrightia religiosa Benth., W. antidysenterica R. Br., Holarrhena pubescens Wall. ex G. Don, Alstonia scholaris (L.) R. Br. Group 3 includes; Nerium indicum Mill., Alyxia reinwardtii Blume., Strophanthus gratus Franch., Thevetia peruviana (Pers.) Schum. Group 4 includes; Allamanda blanchetii A. DC., A. cathartica L. and group 5 includes; Adenium obesum (Forssk.) Roem.& Schult. In terms of morphology, the comparison of figures found that the relationship of Apocynaceae DNA could not be harmonized clearly moreover, RAPD can be used as teaching aids in classroom as electronic book (E-book) for teaching science for Mattayom 6 students.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectลายพิมพ์en_US
dc.subjectดีเอ็นเอen_US
dc.subjectลั่นทมen_US
dc.titleลายพิมพ์ดีเอ็นเอของพืชวงศ์ลั่นทมบางชนิดด้วยเทคนิค Randomly Amplified Polymorphic DNAen_US
dc.title.alternativeDNA Fingerprinting of Some Plants in Family Apocynaceae by Randomly Amplified Polymorphic DNA Techniqueen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc635.93393-
thailis.controlvocab.thashพันธุศาสตร์พืช-
thailis.controlvocab.thashลายพิมพ์ดีเอ็นเอ-
thailis.controlvocab.thashลีลาวดี-
thailis.manuscript.callnumberว 635.93393 จ559ล-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractพืชวงศ์ลั่นทม (Family Apocynaceae) เช่น ลั่นทม ชวนชม ตีนเป็ด แพงพวย และบานบุรี เป็นพืชที่นิยมปลูกทั่วไปตามบ้านเรือน พืชวงศ์นี้มีลักษณะเด่นคือ ทุกส่วนของต้นพืชมีน้ำยางสีขาว แต่จากลักษณะอื่น เช่น ขนาด ดอก และใบ มีความแตกต่างกันมาก จึงต้องการศึกษาความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของพืชในวงศ์ลั่นทมบางชนิด โดยอาศัยข้อมูลจากลายพิมพ์ดีเอ็นเอที่สร้างโดยเทคนิค randomly amplified polymorphic DNA (RAPD) จากการทดสอบประสิทธิภาพของไพรเมอร์ RAPD จำนวน 40 ชนิด พบว่ามีไพรเมอร์ที่เหมาะสมต่อการสร้างลายพิมพ์ดีเอ็นเอของพืชวงศ์ลั่นทมจำนวน 9 ชนิด ได้แก่ O-01, O-18, OPB-07, OPB-08, OPD-20, OPW-09, R-37, R-55 และ R-105 เมื่อสร้างลายพิมพ์ดีเอ็นเอจากพืชวงศ์จำนวน 18 สกุล 22 ชนิด 44 ตัวอย่าง ได้แถบดีเอ็นเอจำนวน 276 แถบ โดยทุกแถบเป็น polymorphic เมื่อนำข้อมูลลายพิมพ์ดีเอ็นเอไปวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมด้วยโปรแกรม Phylip รุ่น 3.2 และ Tree View รุ่น 1.6.6 พบว่า เมื่อจัดกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธี unweighted pair group method with arithmetic average (UPGMA) สามารถจัดพืชในวงศ์ลั่นทมได้เป็น 5 กลุ่ม โดยกลุ่มที่ 1 ประกอบด้วย ลั่นทมขาว ลั่นทมใบศร ลั่นทมแดง บานบุรีแสด พุดชมพู หนามแดง หิรัญญิกา ตีนเป็ดน้ำ และตีนเป็ดแดง กลุ่มที่ 2 ประกอบด้วย แพงพวย พุด โมกบ้าน พุดพิชญา โมกใหญ่ และสัตตบรรณ กลุ่มที่ 3 ประกอบด้วย ยี่โถ ชะลูด แย้มปีนัง และรำเพย กลุ่มที่ 4 ประกอบด้วย บานบุรีม่วง และบานบุรีเหลือง และกลุ่มที่ 5 ประกอบด้วย ชวนชม แต่เมื่อเปรียบเทียบการจัดกลุ่มด้วยเทคนิคนี้กับลักษณะทางสัณฐานวิทยาไม่พบความสัมพันธ์ที่ชัดเจน ซึ่งอาจต้องมีการศึกษาโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลในจำนวนและชนิดที่หลากหลายขึ้น เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือของข้อมูล อย่างไรก็ตามจากการสร้างลายพิมพ์ดีเอ็นเอด้วยเทคนิค RAPD นี้ได้นำข้อมูลผลการทดลองมาสร้างสื่อการสอนในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เพื่อนำไปใช้ในการเรียนการสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ของระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05en_US
Appears in Collections:SCIENCE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docAbstract (words)193.5 kBMicrosoft WordView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract 225.79 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
full.pdfFull IS7.35 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.