Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46018
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวันเพ็ญ ทรงคำ-
dc.contributor.authorรวิวรรณ เต๋ชะรักen_US
dc.date.accessioned2018-04-09T02:22:40Z-
dc.date.available2018-04-09T02:22:40Z-
dc.date.issued2555-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46018-
dc.description.abstractHairdressers are an informal service working group who are at risk of work-related health problems. This descriptive study aimed to examine health status related to risk at work among informal hairdressers. The study sample comprised 118 hairdressers in Hang Dong District, Chiang Mai Province. Data collection was carried out during December 2013 and March 2014. The study instrument was an interview form of health status related to risk at work among informal hairdressers created from literature review with content validity confirmed by a panel of experts. The content validity index was 1. The reliability was tested and its value was at the acceptable level (0.80-0.82). Data analysis was performed by using descriptive statistics. The main results revealed that the most significant illnesses possibly related to exposure to occupational hazards perceived by the study sample included musculoskeletal pain such as wrist and hand pain (73.73%), and shoulder pain (70.34%). They also indicated work-related stress from rushing work tasks (42.37%), respiratory and skin disorders including difficulty breathing (35.59%) and skin rash (23.73%), and vision disorders including blurred vision (30.51%). A work-related injury incurred during the past three months was 38.41 percent. The injury causation was related to cuts from sharp instruments (48.77%). The injuries included lacerated and superficial wound (48.15%). The most commonly injured body parts were hands, wrists and finger (56.17%), which were non-fatal injuries and without taking a day off (97.78%). The findings of this study indicates that occupational health nurses and related health care team should recognize the significance of health and safety dissemination for reducing health risks and promoting better workplace environments for informal hairdressers.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectภาวะสุขภาพen_US
dc.subjectแรงงานนอกระบบen_US
dc.subjectช่างทำผมen_US
dc.titleภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ ช่างทำผม อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeHealth Status Related to Risk at Work Among Informal Hairdressers, Hang Dong District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc613-
thailis.controlvocab.thashแรงงานนอกระบบ -- หางดง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashสุขภาพ-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 613 ร173ภ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractช่างทำผมเป็นหนึ่งในกลุ่มแรงงานนอกระบบภาคบริการที่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพจากการทำงาน การศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบช่างทำผม กลุ่มตัวอย่างเป็นช่างทำผมที่ทำงานในพื้นที่ อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 118 ราย รวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ.2556 ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ.2557 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสัมภาษณ์ภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบช่างทำผมที่ผู้ศึกษาพัฒนาขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 1 และทดสอบความเชื่อมั่นได้ค่าในระดับที่ยอมรับได้ (0.80 – 0.82) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า อาการเจ็บป่วยที่อาจเกี่ยวเนื่องจากการสัมผัสปัจจัยอันตรายจากการทำงานตามการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่างที่สำคัญ ได้แก่ อาการปวดของระบบโครงร่างกล้ามเนื้อ คือ ข้อมือและมือ (ร้อยละ 73.73 ) ไหล่ (ร้อยละ 70.34) ความเครียดจากการทำงานที่มีสาเหตุจากงานที่เร่งรีบ (ร้อยละ 42.37) ทั้งยังพบอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจและผิวหนัง คืออาการหอบหืดหายใจลำบาก (ร้อยละ 35.59) และผื่นคันตามผิวหนัง (ร้อยละ 23.73) อาการผิดปกติของการมองเห็น คืออาการมองเห็นไม่ชัด ตาพร่ามัว (ร้อยละ 30.51) ส่วนการบาดเจ็บจากการทำงานในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมาพบ ร้อยละ 38.14 สาเหตุของการบาดเจ็บ ได้แก่ ถูกของมีคมตัด บาด ทิ่มแทง (ร้อยละ 48.77) ลักษณะ การบาดเจ็บ คือ เป็นแผลฉีกขาด บาดแผลตื้น (ร้อยละ 48.15) อวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บสูงสุด คือ มือ ข้อมือ นิ้วมือ (ร้อยละ 56.17) ส่วนใหญ่เป็นการบาดเจ็บเล็กน้อยโดยไม่ต้องหยุดงาน (ร้อยละ 97.78) ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า พยาบาลอาชีวอนามัยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านสุขภาพ ควรให้ความสำคัญกับการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพและความปลอดภัยกับการทำงาน เพื่อเพิ่มความตระหนักในการลดความเสี่ยงทางสุขภาพและส่งเสริมให้เกิดสิ่งแวดล้อมการทำงานที่ดีของแรงงานนอกระบบช่างทำผมen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT346.16 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX.pdfAPPENDIX3.66 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1418 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2645.43 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3453.42 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4568.94 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5369.01 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT342.59 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER625.86 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE545.55 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.