Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45936
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนลิตรา ไทยประเสริฐ-
dc.contributor.advisorคมสัน สุริยะ-
dc.contributor.authorพีรเดช ชูเกียรติขจรen_US
dc.date.accessioned2018-03-26T08:18:09Z-
dc.date.available2018-03-26T08:18:09Z-
dc.date.issued2556-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45936-
dc.description.abstractThis research aims to study the influence that Japanese foreign direct investment had during the Japanese Financial Crisis in 1990 and the Asian Financial Crisis in 1997 by observing macroeconomic variables. The study evaluated from quantitative and descriptive study. This study employs the panel data, which is the dataset of ASEAN4 (Thailand, Indonesia, Malaysia and Philippine) during 1980 – 2010 and NIEs3 (Singapore, Hong Kong and South Korea) during 1970 – 2010. Panel cointegration and panel equation testing are applied to this study. According to Westerlund test, the result of Panel cointegration test in ASEAN4 shows that the exchange rate of host country (EXC) and the inflation rate of host country (INF) are significantly related with Japanese foreign direct investment in long term. Moreover, group testing shows that at least a country in ASEAN4 has the variables on government expenditure and the number of population are significantly related with Japanese foreign direct investment. The result of panel cointegration in NIEs3 shows that the exchange rate of host country (EXC), the inflation rate of host country (INF), the government expenditure (GOVEXP), the number of population of host country (POP) and exchange rate parabola (EXCSC) are significantly related with Japanese foreign direct investment in the long term. For the result of panel equation testing, the random effect is efficient and appropriate to estimate both the models of ASEAN4 and NIEs3. The results of panel equation testing in ASEAN4 show that the exchange rates of the host countries are significantly negative with Japanese foreign direct investment due to Japanese multinational corporations having the ability to reduce production costs from the depreciation of exchange rates in their host country. Another contributing factor is after the Japanese Financial Crisis in 1990, the Japanese Yen continuously appreciated after the Plaza accord.Since 1990, there have been many Japanese foreign direct investments. Moreover, the government expenditure of the host countries are significantly positivewith the Japanese foreign direct investment because raises in government expenditure can stimulus the economy, making the Japanese more attractive to foreign direct investment. On the other hand, with foreign direct investment, the Asian Financial Crisis in 1997 showed negative results in regards to foreign direct investment. The results of panel equation testing in NIEs3 show that the Japanese Financial Crisis in 1990 and the Asian Financial Crisis in 1997 has a significantly negative effect on the Japanese foreign direct investment. The reason why businesses came to invest in NIEs3 was based on the different conditions that were occurring at those times. Moreover, at that time, NIEs3’s currency appreciated againstthe Yen lead to Japanese foreigndirect investment flow into ASAEN4. From the study, we recommend government to focus on the stability of exchange rate because instability of exchange rate will increase the risks in business sectors in the country especially entrepreneurs who are involves in foreign exchange transactions such as exporters and importers. Furthermore, the government should spend some amount of expenditure in physical development, such as build roads or bridges because this improvement could be attracted the foreign investors to do some business in the country. This could be a significant resource lead to the growth of multinational foreign direct investments. In time of economic expansion, government should state strong policy to prevent any risks for the financial sectors and enact regulation to slow down the inflows or outflows of short term capital.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเศรษฐกิจen_US
dc.subjectการเคลื่อนย้ายการลงทุนen_US
dc.subjectประเทศอุตสาหกรรมใหม่en_US
dc.subjectปัญหาเศรษฐกิจ -- เอเชียen_US
dc.titleผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจของประเทศญี่ปุ่นและเอเชียที่มีต่อการเคลื่อนย้ายการลงทุนทางตรงจากประเทศญี่ปุ่นสู่ประเทศในอาเซียน 4 และ 3 ประเทศอุตสาหกรรมใหม่en_US
dc.title.alternativeEffects of Japan’s and Asian Economic Crises on Japanese Foreign Direct Investment in ASEAN4 and NIEs3en_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc332.042-
thailis.controlvocab.thashการเคลื่อนย้ายเงินทุน -- ญี่ปุ่น-
thailis.controlvocab.thashการเคลื่อนย้ายเงินทุน -- เอเชีย-
thailis.controlvocab.thashปัญหาเศรษฐกิจ -- ญี่ปุ่น-
thailis.manuscript.callnumberว 332.042 พ375ผ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ คือ เพื่อที่จะศึกษาความสัมพันธ์ของวิกฤตเศรษฐกิจปี 1990 ของญี่ปุ่นและวิกฤตเศรษฐกิจปี 1997 ของเอเชียว่ามีความสัมพันธ์และส่งผลต่อการลงทุนทางตรงจากประเทศญี่ปุ่นอย่างไร ซึ่งแบ่งออกเป็นการศึกษาเชิงปริมาณและเชิงพรรณนา โดยใช้ข้อมูล Panel data ตั้งแต่ปี 1980 – 2010 สำหรับ ASEAN4 (อินโดนีเซีย ไทย ฟิลิปปินส์ และมาเลเซีย) และตั้งแต่ปี 1970 – 2010 สำหรับ NIEs3 (สิงคโปร์ ฮ่องกง และเกาหลีใต้) ซึ่งได้มีการทดสอบ Panel cointegration รวมไปถึงการทดสอบ Panel equation testing จากผลการทดสอบ Panel cointegarion ด้วยวิธีของ Westerlund test ใน ASEAN4 พบว่าตัวแปรอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศผู้รับการลงทุนและอัตราเงินเฟ้อของประเทศผู้รับการลงทุนมีความสัมพันธ์กันกับการลงทุนทางตรงจากประเทศญี่ปุ่นในระยะยาวนอกจากนี้ในผลการทดสอบแบบกลุ่มพบว่าตัวแปรค่าใช้จ่ายรัฐบาล (GOVEXP) และจำนวนประชากร (POP) มีอย่างน้อย 1 ประเทศที่มีตัวแปรค่าใช้จ่ายรัฐบาลและจำนวนประชากรที่มีความสัมพันธ์ในระยะยาวกับการลงทุนทางตรงจากประเทศญี่ปุ่นสู่ASEAN4 ในส่วนของผลการทดสอบPanel cointegarion ด้วยวิธีของ Westerlund test ใน NIEs3 พบว่าตัวแปรอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศผู้รับการลงทุน (EXC) อัตราเงินเฟ้อของประเทศผู้รับการลงทุน (INF) ค่าใช้จ่ายรัฐบาลของประเทศผู้รับการลงทุน (GOVEXP) จำนวนประชากรของประเทศผู้รับการลงทุน (POP) และอัตราแลกเปลี่ยนแบบพาราโบรา (EXCSC) มีอย่างน้อย 1 ประเทศที่มีตัวแปรข้างต้นมีความสัมพันธ์กับการลงทุนทางตรงจากประเทศญี่ปุ่นสู่ NIEs3ในระยะยาว ในส่วนของผลการศึกษา Panel equation testing พบว่า Random effect เป็นแบบจำลองที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพทั้งใน ASEAN4 และ NIEs3 สำหรับประเทศในกลุ่ม ASEAN4 พบว่าอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศผู้รับการลงทุนนั้นหากยิ่งอ่อนค่าก็จะยิ่งได้รับการลงทุนทางตรงจากประเทศญี่ปุ่นมากขึ้น เนื่องจากบรรษัทของญี่ปุ่นนั้นสามารถใช้โอกาสนี้ลดต้นทุนการผลิตจากอัตราแลกเปลี่ยนที่อ่อนค่าของประเทศผู้รับการลงทุนได้ เช่นเดียวกันกับวิกฤตเศรษฐกิจปี 1990 ของประเทศญี่ปุ่นซึ่งเกิดจากการที่ค่าเงินเยนแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากช่วงเหตุการณ์ Plaza Accord ทำให้เกิดการย้ายฐานการผลิตเข้ามาใน ASEAN4 เพิ่มมากขึ้น ส่วนค่าใช้จ่ายภาครัฐบาลนั้นทำให้การลงทุนทางตรงจากประเทศญี่ปุ่นเพิ่มขึ้น อันเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายรัฐบาลนั้นจะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจและทำให้เกิดการลงทุนเพิ่มขึ้น ซึ่งตรงกันข้ามกับวิกฤตเศรษฐกิจปี 1997 ที่ทำให้การลงทุนทางตรงจากประเทศญี่ปุ่นลดลง ในส่วนของกลุ่มประเทศ NIEs3 นั้นพบว่าวิกฤตเศรษฐกิจปี 1990 ของประเทศญี่ปุ่นและวิกฤตเศรษฐกิจปี 1997 ของเอเชียทำให้การลงทุนทางตรงจากประเทศญี่ปุ่นสู่ประเทศ NIEs3 ลดลง อันเนื่องมาจากประเทศในกลุ่มนี้ได้รับการลงทุนจากประเทศญี่ปุ่นมาตั้งแต่ช่วงปี 1970และเป็นการเข้าไปลงทุนโดยเงื่อนไขที่แตกต่างจาก ASEAN4อีกทั้งในขณะนั้นประเทศในกลุ่ม NIEs3 มีค่าเงินที่แข็งค่าตามค่าเงินเยนทำให้การลงทุนทางตรงจากประเทศญี่ปุ่นไหลไปสู่ประเทศในกลุ่ม ASEAN4 มากกว่า ผลจากการศึกษาสามารถให้ข้อเสนอแนะได้ว่ารัฐบาลควรที่จะเน้นการรักษาเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยนไม่ให้แกว่งตัวผันผวนจนเกินไปในระยะสั้น เพราะความไม่มีเสถียรภาพของค่าเงินจะกระทบต่อการตัดสินใจของการลงทุนทางตรงได้ในระยะสั้น นอกจากนี้ยังส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบการที่มีธุรกรรมเกี่ยวข้องกับอัตราแลกเปลี่ยน เช่น ผู้ส่งออกและนำเข้า รวมไปถึงรัฐบาลสามารถเป็นกลจักรขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศทางอ้อมด้วยการเพิ่มการใช้จ่ายภายในประเทศที่มุ่งเน้นไปในการพัฒนาประเทศซึ่งจะเป็นการเพิ่มอุปสงค์ต่อสินค้าจากบรรษัทข้ามชาติในบางธุรกิจ ซึ่งทำให้บรรษัทข้ามชาติมองเห็นโอกาสในการเข้ามาลงทุนมากขึ้นและในยามที่เศรษฐกิจขยายตัวจะต้องใช้นโยบายเข้มงวดกับสถาบันการเงินเพื่อไม่ให้ขยายการดำเนินงานไปสู่ธุรกิจที่มีความเสี่ยงสูงและกำหนดมาตรการเตรียมไว้ป้องกันไม่ให้เงินทุนระยะสั้นไหลเข้าหรือออกจากประเทศมากและเร็วเกินไปจนทำให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจขึ้นอีกครั้งen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT343.33 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX494.46 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1615.65 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2559.45 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3519.02 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4635.19 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5282.05 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT240.91 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER628.57 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE278.03 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.