Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45907
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉวีวรรณ ธงชัย-
dc.contributor.authorสุกัญญา เลาหธนาคมen_US
dc.date.accessioned2018-03-26T04:11:21Z-
dc.date.available2018-03-26T04:11:21Z-
dc.date.issued2557-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45907-
dc.description.abstractDelirium is a common syndrome after patients areconfined in an intensive care unit (ICU). The impact of delirium in an ICU can be life-threatening due to behavioral changes in the patient. Prevention of ICU delirium needs practices based on evidence in order to achieve positive outcomes. The purpose of this operation study was to determine the effectiveness of implementing clinical practice guidelines (CPGs) for prevention of ICU delirium in the medical intensive care unit (MICU), Lampang Hospital. Subjects included 82 conscious and able to communicate critically ill patients,who were confined inthe MICU before implementing of CPGsduring September to November 2013,and 70 subjects who were confined in the MICU afterimplementing of CPGs from JanuarytoMarch 2014. The instruments used in this study were CPGs for prevention of delirium among critically ill patients of Lampang Hospital developed by Laohatanakom and colleague(2012) and an outcome evaluation form, also developed by Laohatanakom and colleague (2012). The study was based on the CPGs implementing framework of the Australian National Health and Medical Research Council (NHMRC, 1999). Data analysis was done using descriptive statistics. The finding revealed that the incidence rate of ICU delirium among subjects in the non CPGs group was 34.15% while the incidence rate of ICU delirium among subjects in the CPGs group was only 12.86%. The finding of this study confirmed that implementing the CPGs inthe MICU, Lampang Hospitalwas ableto reduce the incidence rate of ICU delirium. The investigator suggests that these CPGs should be incorporated with quality improvement activities among other ICUs as well.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแนวปฏิบัติทางคลินิกen_US
dc.subjectภาวะสับสนเฉียบพลันen_US
dc.subjectผู้ป่วยวิกฤตen_US
dc.titleประสิทธิผล ของการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการป้องกันภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤต หอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม โรงพยาบาลลำปางen_US
dc.title.alternativeEffectiveness of implementing clinical practice guidelines for prevention of delirium among critically ILL patients, medicial intensive care unit, Lampang hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.nlmcW 4-
thailis.controlvocab.meshIntensive care units-
thailis.controlvocab.meshCritical care nursing-
thailis.controlvocab.meshDelirium-
thailis.manuscript.callnumberW 4 ส241ป 2557-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภาวะสับสนเฉียบพลันเป็นกลุ่มอาการที่พบได้บ่อยภายหลังผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤต ผลกระทบที่เกิดจากภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤต ทำให้เกิดอันตรายต่อชีวิตได้เนื่องจากผู้ป่วยจะมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป การป้องกันภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤตจึงจำเป็นต้องอาศัยการปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดี การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาปฏิบัติการมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการป้องกันภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤต หอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม โรงพยาบาลลำปาง กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้คือผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาในหอผู้ป่วยผู้ป่วยหนักอายุรกรรม โรงพยาบาลลำปางที่รู้สึกตัวดีและสามารถสื่อสารได้ประกอบด้วยกลุ่มตัวอย่าง2 กลุ่ม คือ กลุ่มตัวอย่างก่อนมีการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรมระหว่างเดือนกันยายน ถึงเดือนพฤศจิกายน 2556จำนวน 82 คนและกลุ่มตัวอย่างที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรมหลังจากมีการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกตั้งแต่เดือนมกราคม ถึงเดือนมีนาคม2557จำนวน 70 คนเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการป้องกันภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤต หอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม โรงพยาบาลลำปางพัฒนาโดยสุกัญญา เลาหธนาคมและคณะ (2555) และแบบบันทึกผลลัพธ์การเกิดภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤตพัฒนาโดยสุกัญญา เลาหธนาคมและคณะ (2555)เช่นเดียวกัน ดำเนินการศึกษาตามกรอบแนวคิดของสภาวิจัยทางการแพทย์และสุขภาพแห่งชาติประเทศออสเตรเลีย (NHMRC, 1999) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างก่อนมีการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการป้องกันภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤตมีอุบัติการณ์การเกิดภาวะสับสนเฉียบพลัน ร้อยละ 34.15 ในขณะที่กลุ่มตัวอย่างที่มีการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการป้องกันภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤตมีอุบัติการณ์การเกิดภาวะสับสนเฉียบพลันเพียงร้อยละ 12.86 ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม โรงพยาบาลลำปาง สามารถลดอุบัติการณ์ภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤตลงได้ ผู้ศึกษาเสนอแนะว่าควรมีการบูรณาการแนวปฏิบัติทางคลินิกนี้กับกิจกรรมพัฒนาคุณภาพการดูแลในหอผู้ป่วยวิกฤตอื่นๆต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT162.98 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX.pdfAPPENDIX1.78 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1259.2 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2683.48 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3274.43 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4477.94 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5220.06 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT150.01 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER567.6 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE294.93 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.