Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45878
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กรรณิการ์ ณ ลำปาง | - |
dc.contributor.author | บุญเลิศ จันทร์หอม | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-03-21T04:41:02Z | - |
dc.date.available | 2018-03-21T04:41:02Z | - |
dc.date.issued | 2557-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45878 | - |
dc.description.abstract | The objective of this descriptive study was to study the knowledge and performance of caretakers, personal hygiene of small children, and the environment at the day care centers in Laplae district, Uttaradit province in prevention of the hand, foot and mouth disease. Data was collected using questionnaires for the caretakers and observation forms for the children and environment at the day care centers. The results showed that of 22 centers, there were 47 caretakers which all of them were female age between 30-39 years old. Most of them have college degrees and received routine medical check up annually. Their average experiences as caretakers were 11 years. In 2013, There were outbreaks of the hand, foot and mouth disease at 10 day care centers in the Laplae district. Results showed that the caretakers had excellent knowledge (85.1%) and performances (94.1) in prevention of the hand, foot and mouth disease. The children at day care centers were well taken care of and had a very good personal hygiene. Most day care centers in the Laplae district passed the criteria for appropriate environment for children (68.2%). However, there were some caretakers that misunderstood in the hand, foot and mouth disease symptoms and showed inappropriate performances for the prevention of the hand, foot and mouth disease. Some of the caretakers did not wash their hand regularly and some allowed children to share drinking cups. There were 31.8 percent of the day care centers that did not pass the assessment criteria for the day care centers by the Department of Disease Control. There was a significant correlation (p-value = 0.02) between behaviors of caretakers in keeping good environmental hygiene and the outbreak of the hand, foot and mouth disease in the day care center. Among 10 day care centers that previously had the disease outbreak in 2013, more than 10 percent that did not meet the assessment criteria of the Department of Disease Control especially in keeping the beddings and toys clean. Therefore, it is important for the involved government agency to promote the awareness and financially support for all the day care centers in Taplae district in order to follow the Department of Disease Control criteria to maintain good hygiene which is crucial in controllingthe hand, foot and mouth disease outbreak. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | โรคมือเท้าปาก | en_US |
dc.subject | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก | en_US |
dc.title | การปฏิบัติของผู้ดูแลเด็กและเด็กทางด้านสุขภาพอนามัยในการป้องกันการเกิดโรคมือเท้าปากของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก | en_US |
dc.title.alternative | The Practice of Caregivers and Child Health Care in the Prevention of Hand Foot and Mouth Disease Childcare Centers, Laplae District, Uttaradit Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 616.9 | - |
thailis.controlvocab.thash | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก -- อุตรดิตถ์ | - |
thailis.controlvocab.thash | โรคมือเท้าปาก -- การป้องกันและควบคุม | - |
thailis.controlvocab.thash | โรคติดเชื้อ -- การป้องกันและควบคุม | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 616.9 บ435 | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา เพื่อศึกษาความรู้และการปฏิบัติของผู้ดูแลเด็ก พฤติกรรมสุขอนามัยของเด็ก และสิ่งแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ในการป้องกันการเกิดโรคมือเท้าปาก เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามการปฏิบัติของผู้ดูแลเด็กในการป้องกันโรคมือเท้าปากแบบสังเกตพฤติกรรมของเด็กและแบบประเมินสิ่งแวดล้อมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผลการศึกษาพบว่าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้งหมด 22 ศูนย์มีผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจำนวน 47 คน ทั้งหมดเป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 30 - 39 ปี ส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับปริญญาตรี และได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีโดยมีระยะเวลาการทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลเด็กเฉลี่ย 11 ปี และพบว่าในปี 2556 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเกิดโรคมือเท้าปากจำนวน 10 ศูนย์ ผลการศึกษา ด้านความรู้และการปฏิบัติของผู้ดูแลเด็ก ด้านสุขอนามัยของเด็ก และด้านสิ่งแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ส่วนใหญ่ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ระดับดีเยี่ยม (ร้อยละ 85.1) และมีการปฏิบัติดูแลเด็กในการควบคุมป้องกันโรคมือเท้าปากได้ถูกต้อง (ร้อยละ 94.1) เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลให้มีสุขอนามัยส่วนบุคคลที่ดี และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กส่วนใหญ่ผ่านเกณฑ์การประเมินด้านสิ่งแวดล้อม (ร้อยละ 68.2) แต่พบว่าผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบางส่วนมีความรู้และการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้อง ในเรื่องอาการ การติดต่อและการป้องกันโรคมือเท้าปาก และผู้ดูแลเด็กบางส่วนไม่ปฏิบัติเป็นประจำทุกครั้งในด้านสุขอนามัยของเด็ก ในเรื่องการล้างมือ การดูแลไม่ให้เด็กใช้แก้วน้ำร่วมกัน การคัดกรองเด็กป่วย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจำนวน ร้อยละ 31.8 มีสิ่งแวดล้อมไม่ผ่านตามเกณฑ์ประเมินศูนย์เด็กเล็กปลอดโรคของกรมควบคุมโรค และพบความสัมพันธ์ระหว่างการ ปฏิบัติของผู้ดูแลเด็กในด้านการดูแลสิ่งแวดล้อมเรื่องการทำความสะอาดของเล่นกับการเกิดโรคมือเท้าปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P-value =0.02)ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่พบการเกิดโรคมือเท้าปากจำนวน 10 ศูนย์ พบว่า การปฏิบัติของผู้ดูแลเด็กทั้งการด้านสุขอนามัยส่วนบุคคล ด้านการดูแลเด็กและด้านการดูแลสิ่งแวดล้อมมากกว่าร้อยละ 10 ยังไม่เป็นไปตามแนวทางการควบคุมป้องกันโรคของกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุขในหัวข้อการคัดกรองเด็กป่วย การทำความสะอาดเครื่องนอน และของเล่น ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงควรส่งเสริมให้ผู้ดูแลเด็กให้ความสำคัญในการปฏิบัติตามแนวทางที่กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุขกำหนด และสนับสนุนงบประมาณในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการควบคุมโรค รวมถึงปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อให้การควบคุมป้องกันโรคมือเท้าปากเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ | en_US |
Appears in Collections: | GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 292.22 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 354.41 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 287.04 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 336.41 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 278.11 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 718.75 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 300.12 kB | Adobe PDF | View/Open |
CONTENT.pdf | CONTENT | 175.1 kB | Adobe PDF | View/Open |
COVER.pdf | COVER | 629.46 kB | Adobe PDF | View/Open |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 259.98 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.