Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45857
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลินจง โปธิบาล-
dc.contributor.advisorภารดี นานาศิลป์-
dc.contributor.authorอุบล บัวชุมen_US
dc.date.accessioned2018-03-13T03:59:33Z-
dc.date.available2018-03-13T03:59:33Z-
dc.date.issued2557-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45857-
dc.description.abstractSpiritual well-being is an important indicator of quality of life in patients with gynecological cancer, so supporting their spiritual well-being is also important. This quasi-experimental research aimed to examine the effect of supporting Buddhist doctrine practices on spiritual well-being among elderly patients with gynecological cancer. Participants included 40 elders with gynecological cancer hospitalized at gynecological wards 3 and 4, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital, during September 2013 to April 2014. The participants were purposively assigned into two groups. The control group, hospitalized during September 2013 to December 2013, received usual care. The experimental group who were hospitalized during January 2014 to April 2014 received supported Buddhist doctrine practices. Data were collected using the Spiritual Well-Being of Lung Cancer Elders Scale developed by Nongyao Kuntamun (2546) with Cronbach alpha’s coefficient of .83. Data were analyzed using descriptive statistics and t-test. The results of this study revealed that: 1. After support to practice Buddhist doctrine the spiritual well-being of elders with gynecological cancer was statistically higher than prior to receiving this support (p<0.01). 2. The spiritual well-being of the elderly participants support to practice Buddhist doctrine was statistically higher than that of the elders receiving usual care (p<0.01). The results of this study indicate that nurses who care for elderly patients with gynecological cancer should support practicing Buddhist doctrine to enhance patients, spiritual well-being.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพุทธธรรมen_US
dc.subjectผู้สูงอายุen_US
dc.subjectโรคมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์en_US
dc.titleผลของการสนับสนุนการปฏิบัติตามหลักพุทธธรรมต่อความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้สูงอายุที่เป็นโรคมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรี โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEffect of Supporting Buddhist Doctrine Practices on Spiritual Well-being Among the Elders with Gynecological Cancer, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.nlmcW 4-
thailis.controlvocab.meshAging-
thailis.controlvocab.meshGenetal neoplasms, female-
thailis.controlvocab.meshSpirituality-
thailis.manuscript.callnumberW 4 อ245ผ 2557-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractความผาสุกทางจิตวิญญาณเป็นตัวชี้วัดที่สำคัญยิ่งต่อคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรี การส่งเสริมความผาสุกทางจิตวิญญาณของผู้ป่วยจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการสนับสนุนการปฏิบัติตามหลักพุทธธรรมต่อความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้สูงอายุที่เป็นโรคมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรี ที่เข้าพักรักษาตัวอยู่ในหอผู้ป่วยนรีเวชกรรม 3 และ 4 งานการพยาบาลผู้ป่วยสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ระหว่างเดือนกันยายน พ.ศ.2556 ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2557 จำนวน 40 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มควบคุมเป็นกลุ่มที่เข้ารักษาระหว่างเดือนกันยายน พ.ศ.2556 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2556 จำนวน 20 คนได้รับการดูแลตามปกติ และกลุ่มทดลองเป็นกลุ่มที่เข้ารักษาระหว่างเดือนมกราคม พ.ศ. 2557 ถึง เดือนเมษายน พ.ศ. 2557 จำนวน 20 คน และได้รับแผนการสนับสนุนการปฏิบัติกิจกรรมตามหลักพุทธธรรม รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบประเมินความผาสุกทางจิตวิญญาณของผู้สูงอายุโรคมะเร็งปอดของนงเยาว์ กันทะมูล (2546) ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .83 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1. คะแนนความผาสุกทางจิตวิญญาณหลังได้รับการสนับสนุนการปฏิบัติตามหลักพุทธธรรม สูงกว่าก่อนไม่ได้รับการสนับสนุนการปฏิบัติตามหลักพุทธธรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.01) 2. คะแนนความผาสุกทางจิตวิญญาณของกลุ่มที่ได้รับการสนับสนุนการปฏิบัติตามหลัก พุทธธรรม สูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับการสนับสนุนการปฏิบัติตามหลักพุทธธรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.01) ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า พยาบาลที่ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรีควรสนับสนุนการปฏิบัติตามหลักพุทธธรรม เพื่อส่งเสริมความผาสุกทางจิตวิญญาณของผู้สูงอายุโรคมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรีen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT256.98 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX.pdf APPENDIX1.54 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdf CHAPTER 1222.88 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2458.9 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdf CHAPTER 3251.84 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdf CHAPTER 4397.26 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5.213.38 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT171.31 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdf COVER619.5 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE403.01 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.