Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45851
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทศพร คำผลศิริ | - |
dc.contributor.advisor | ดวงฤดี ลาศุขะ | - |
dc.contributor.author | นฤมล จินะคำปา | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-03-13T03:15:56Z | - |
dc.date.available | 2018-03-13T03:15:56Z | - |
dc.date.issued | 2557-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45851 | - |
dc.description.abstract | Oral care is a fundamental requirement when nursing critically ill elderly patients with endotracheal tubes. The purpose of this operational research was to evaluate the effectiveness of clinical nursing practice guidelines implementation for oral cavity care of critically ill elderly patients with endotracheal tubes, at the medical intensive care unit, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. The model of the Registered Nurses Association of Ontario (RNAO, 2009) was used as a framework for this study. The sample consisted of 40 critically ill elderly patients intubated with endotracheal tubes, and 30 registered nurses who cared for them. The study was conducted during May to August 2014. The instrument used in this study was the clinical nursing practice guidelines for care of oral cavities, developed by Supattra Nuchakul (2007). The instruments for data collection consisted of an oral assessment form, demographic data recording form for elderly patients and nurses, and satisfaction questionnaire to measure nurse satisfaction on implementation of the clinical nursing practice guidelines. Data were analyzed using descriptive statistics and the Fisher Exact Probability Test. Findings of this study revealed that: 1. The proportion of critically ill elderly patients with endotracheal tubes who had good oral hygiene in the CPGs implementing group was significantly higher than the proportion of patients in the non-implementing group at a significant level of p < .05 2. Nurses who had high and moderate levels of satisfaction with the clinical nursing practice guidelines implementation were at 90% and 10%, respectively. The results of this study confirm the effectiveness of the clinical nursing practice guidelines implementation for oral cavity care of critically ill elderly patients with endotracheal tubes. Therefore, these guidelines should be used to improve quality of care for elderly patients. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การดูแลช่องปาก | en_US |
dc.subject | ผู้ป่วยสูงอายุวิกฤต | en_US |
dc.subject | โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลในการดูแลช่องปากสำหรับผู้ป่วยสูงอายุวิกฤตที่ใส่ท่อทางเดินหายใจ หอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Effectiveness of Clinical Nursing Practice Guidelines Implementation for Oral Cavity Care Among Critically Ill Elderly Patients with Endotracheal Tubes, Medical Intensive Care Unit, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.nlmc | W 4 | - |
thailis.controlvocab.mesh | Dental care | - |
thailis.controlvocab.mesh | Ctitical illness | - |
thailis.controlvocab.mesh | Airwar obstruction | - |
thailis.manuscript.callnumber | W 4 น297ป 2557 | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การดูแลช่องปากเป็นการพยาบาลพื้นฐานในการดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่ใส่ท่อทางเดินหายใจ การศึกษาเชิงปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลในการดูแลช่องปากสำหรับผู้ป่วยสูงอายุวิกฤตที่ใส่ท่อทางเดินหายใจ หอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ โดยใช้กรอบแนวคิดการประเมินผลการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกของสมาคมพยาบาลออนทาริโอ (RNAO, 2009) กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ผู้สูงอายุที่ได้รับการใส่ท่อทางเดินหายใจ จำนวน 40 คน และพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 30 คน ศึกษาระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2557 เครื่องมือที่ใช้ดำเนินการศึกษา คือ แนวปฏิบัติการพยาบาลในการดูแลช่องปากสำหรับผู้ป่วยที่ใส่ท่อทางเดินหายใจในภาวะวิกฤตที่พัฒนาขึ้นโดยสุพัตรา นุชกูล (2550) และเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยสูงอายุและพยาบาล แบบประเมินสภาพช่องปาก แบบสอบถามความพึงพอใจของพยาบาลต่อการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและสถิติทดสอบฟิชเชอร์ ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า 1. สัดส่วนผู้ป่วยสูงอายุวิกฤตที่ใส่ท่อทางเดินหายใจที่ได้รับการดูแลตามแนวปฏิบัติมีระดับสภาพช่องปากปกติมากกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามมาตรฐานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) 2. พยาบาลมีความพึงพอใจต่อการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลในการดูแลช่องปากสำหรับผู้ป่วยสูงอายุวิกฤตที่ใส่ท่อทางเดินหายใจ อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 90 และระดับปานกลางร้อยละ 10 ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถยืนยันประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลช่องปากเป็นการพยาบาลพื้นฐานในการดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่ใส่ท่อทางเดินหายใจ ดังนั้นจึงควรนำแนวปฏิบัตินี้ไปใช้ในการปรับปรุงคุณภาพการดูแลผู้ป่วยสูงอายุต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 214.16 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
APPENDIX.pdf | APPENDIX. | 1.43 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 268.32 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 326.38 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 322.06 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 407.11 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 173.4 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CONTENT.pdf | CONTENT | 159.04 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
COVER.pdf | COVER | 612.98 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 248.2 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.