Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45850
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ บุญเชียง-
dc.contributor.advisorประพิมพ์ พุทธิรักษ์กุล-
dc.contributor.authorวิลาภา ยศมาดีen_US
dc.date.accessioned2018-03-13T03:12:25Z-
dc.date.available2018-03-13T03:12:25Z-
dc.date.issued2557-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45850-
dc.description.abstractStroke prevention in persons with hypertension is important in reducing incidents that cause strokes. This study aimed to develop stroke prevention practice guidelines in persons with hypertension for village health volunteers in Tan Chum Tambon, Wiang Sa District, Nan Province. The following developmental procedures were conducted according to the guidelines from The Thailand Centre for Evidence-Based Nursing, Midwifery & Health Science, Faculty of Nursing, Chiang Mai University. These guidelines were used to: 1) determine problems; 2) identify outcomes; 3) search for evidences; 4) appraise evidence; and 5) develop stroke prevention practice guidelines for village health volunteers. This process was conducted between July 2013 and July 2014. Guidelines were developed by 10 developmental team members and was tried out by 5 village health volunteers who cared for persons with hypertension in Tan Chum Tambon, for 2 weeks. Tools used in this study consisted of: 1) general questionnaires for practice guidelines developmental team members and practice guidelines users; and 2) user evaluation questionnaires regarding the quality of the practice guidelines. Data were analyzed using frequency distribution and descriptive statistics. The practice guidelines as the result of this study consisted of 5 sections: 1) stroke risk assessment; 2) hypertension and stroke health education; 3) stroke prevention activities; 4) patient referral when abnormality was found; and 5) outcome evaluation. The users highly agreed that the practice guidelines were efficient, feasible and practical. Therefore, the practice guidelines should be implemented and disseminated.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโรคหลอดเลือดสมองen_US
dc.subjectโรคความดันโลหิตสูงen_US
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุขen_US
dc.titleการพัฒนาแนวปฏิบัติในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง สำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาลชุม อำเภอเวียงสา จังหวัดน่านen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Stroke Prevention Practice Guidelines in Persons with Hypertension for Village Health Volunteers, Tan Chum Tambon Health Promoting Hospital, Wiang Sa District, Nan Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.nlmcW 4-
thailis.controlvocab.meshStroke -- prevention & control-
thailis.controlvocab.meshHypertension-
thailis.controlvocab.meshHospitals -- health promotion services-
thailis.manuscript.callnumberW 4 ว237ก 2557-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงมีความสำคัญต่อการลดอุบัติการณ์การเกิดโรคหลอดเลือดสมอง การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติ เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลตาลชุม อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน โดยอาศัยขั้นตอนในการพัฒนาตามแนวทางของศูนย์ความรู้เชิงประจักษ์ทางการพยาบาลและผดุงครรภ์แห่งประเทศไทย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดังนี้คือ 1) การกำหนดหัวข้อปัญหา 2) การกำหนดผลลัพธ์ 3) การสืบค้นหลักฐาน 4) การประเมินคุณค่าของหลักฐาน และ 5) การสร้างแนวปฏิบัติ สำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ซึ่งพัฒนาขึ้นระหว่างเดือน กรกฎาคม 2556 ถึง กรกฎาคม 2557 โดยทีมผู้พัฒนาแนวปฏิบัติ จำนวนทั้งสิ้น 10 ราย และทดลองใช้โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ที่ดูแลผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง ในตำบลตาลชุม จำนวน 5 ราย เป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เป็นแบบสอบถามประกอบด้วย 2 ส่วนคือส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป สำหรับกลุ่มผู้พัฒนาแนวปฏิบัติฯ และผู้ใช้แนวปฏิบัติฯ ส่วนที่ 2 แนวคำถามการประเมินคุณภาพของแนวปฏิบัติฯภายหลังการทดลองใช้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ และสถิติเชิงพรรณนาตามลักษณะของข้อมูล   ผลการศึกษาทำให้ได้แนวปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ซึ่งประกอบด้วย 5 หมวดหมู่ คือ หมวดที่ 1 การประเมินผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง หมวดที่ 2 การให้สุขศึกษาเพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดสมอง หมวดที่ 3 การส่งเสริมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง หมวดที่ 4 การส่งต่อผู้ป่วยเพื่อขอรับการตรวจรักษาเมื่อพบอาการผิดปกติ และหมวดที่ 5 การประเมินผลลัพธ์ เมื่อได้นำแนวปฏิบัติฯนี้ไปทดลองใช้แล้ว ผู้ใช้แนวปฏิบัติมีความเห็นว่าแนวปฏิบัติชุมชนนี้มีประสิทธิผล คือมีความง่าย สะดวก ประหยัด และมีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติในระดับมาก ดังนั้นจึงควรให้มีการนำแนวปฏิบัติฯนี้ สู่ขั้นตอนการนำไปใช้และเผยแพร่ต่อไป  en_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT147.5 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX.pdf APPENDIX329.53 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1200.22 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdf CHAPTER 2363.55 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdf CHAPTER 3193.92 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4379.7 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5141.98 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT129.1 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdf COVER707.91 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE210.66 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.